ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิโยตีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: jv:Guillotine
炳理 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
ถึงแม้ว่า[[ประเทศฝรั่งเศส]]ได้ชื่อว่าเป็นประเทศแรกที่ใช้การประหารชีวิตด้วยกิโยติน นิโกลาส์ เจ. แปลเลอตเยร์ (Nicolas J. Pelletier) โจรปล้นสัญจรถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตินเป็นคนแรกเมื่อวันที่ [[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2335]] (ค.ศ. 1792) ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 16]] [[สหราชอาณาจักร]] มีเครื่องลงโทษลักษณะที่คล้ายกันชื่อ [[จิบบิต]] (gibbet) และมีเครื่องลงโทษลักษณะคล้ายกันใน [[ประเทศอิตาลี]] และ [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|สวิตเซอร์แลนด์]]
 
อองตวน หลุยส์ (Antoine Louis) สมาชิกของกลุ่ม Académie Chirurgical เป็นบุคคลที่คิดค้นการทำงานของเครื่องกิโยติน โดยเครื่องกิโยตินตอนแรกได้ใช้ชื่อว่า หลุยซอง (Louison) หรือ หลุยเซท (Louisette) แต่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "กิโยติน" ตามชื่อของ ดร.โจเซฟโฌเซฟ-อิกนาซอินแนซ กิโยแตง (Joseph-Ignace Guillotin) แพทย์ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้เสนอแนะการประหารชีวิตโดยการตัดคอ ภายหลัง ดร.กิโยติน ได้เปลี่ยนนามสกุล เนื่องจากไม่ต้องการใช้ชื่อสกุล เป็นคำเดียวกับวิธีการประหารชีวิต การใช้เครื่องกิโยตินแทนการประหารชีวิตแบบเก่า โดยเหตุผลว่าเป็นการประหารชีวิตของมนุษย์ ก่อน[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]ผู้มีชื่อเสียงจะถูกตัดคอโดยดาบหรือขวาน ในขณะที่ชาวบ้านทั่วไปจะถูกแขวนคอ หรือวิธีการประหลาดต่างๆ ในช่วงของ[[ยุคกลาง]] (เช่น ถูกเผา หรือมัดกับล้อไม้) ในการตัดคอ มีหลายครั้งที่ตัดคอไม่สำเร็จในดาบแรก ทำให้เกิดความทรมานต่อผู้ถูกประหารชีวิต การใช้กิโยตินจะทำให้ผู้ถูกประหารชีวิตเจ็บปวดน้อยที่สุด ในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศส มีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตินอย่างน้อย 20,000 คน โดยการประหารด้วยกิโยตินถือเป็นที่สนใจของบุคคลทั่วไปเช่นกัน
 
กิโยตินถือเป็นเครื่องประหารชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย จนกระทั่งยกเลิกกฎหมายประหารชีวิตในปี [[พ.ศ. 2424]] (ค.ศ. 1881) บุคคลสุดท้ายที่ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตินคือ ยูจีน เว็ดแมนน์เว็ดมันน์ (Eugene Weidmann) ฆาตกรสังหาร 5 ศพ โดยถูกตัดศีรษะเมื่อวันที่ [[17 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]] (ค.ศ. 1939) เวลา 16.32 น. ภายนอกคุก Saint-Pierre rue Georges Clemenceau 5 ที่เมือง[[แวร์ซายส์]]
 
<gallery>