ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อายุความ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
'''อายุความ''' ({{lang-en|prescription ([[ระบบซีวิลลอว์|ซีวิลลอว์]]), limitation ([[ระบบคอมมอนลอว์|คอมมอนลอว์]])}}) คือระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดให้ใช้กำหนดให้ใช้[[สิทธิเรียกร้อง]] [[การฟ้องคดี|สิทธิบังคับฟ้อง]] หรือ[[การร้องทุกข์|สิทธิร้องทุกข์]] หากปล่อยเนิ่นนานไปจนล่วงระยะเวลาดังกล่าวแล้วสิทธิเช่นว่าจะเป็นอันยกขึ้นอ้างอีกมิได้ ซึ่งเรียกว่า "การขาดอายุความ" เช่น สิทธิเรียกร้องขาดอายุความ คดีขาดอายุความ หนี้ขาดอายุความ เป็นต้น<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, 2549 : ออนไลน์.</ref> <ref>กำชัย จงจักรพันธุ์, 2551 : 86.</ref>
 
{{สารบัญขวา}}
บรรทัด 7:
การที่กฎหมายกำหนดอายุความไว้นั้นมีเหตุผลสามประการ ดังต่อไปนี้<ref>กำชัย จงจักรพันธุ์, 2551 : 89.</ref> <ref>พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล), 2509 : 592.</ref>
 
1. เป็นนิตินโยบาย ({{lang-en|legal policy}}) ของ[[รัฐชาติ|รัฐ]]เพื่อดำรงความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงในการอ้างสิทธิของบุคคล อันเป็นการห้ามปรามมิให้มีการนำเรื่องราวที่เกิดขึ้นมาเนิ่นนานแล้วมาเรียกร้องต่อกัน เพราะเรื่องราวที่เกิดขึ้นมาเนิ่นนานแล้วนั้นย่อมยุ่งยากสำหรับผู้เกี่ยวข้องในการหาพยานหลักฐานมาพิสูจน์แก่กัน พยานหลักฐานอาจสูญหาย เสื่อมสภาพ บกพร่อง หรือคลาดเคลื่อนไปตามกาลเวลาได้ ซึ่งจะส่งผลให้กาีรให้การวินิจฉัยข้อพิพาทนั้นไม่อาจเป็นธรรมได้อย่างแท้จริง
 
2. เป็นโทษสำหรับ[[เจ้าหนี้]]ที่ปล่อยปละละเลยไม่ใช้สิทธิเรียกร้องของตนเสียที จนกระทั่งล่วงเลยอายุความที่กำหนดไว้ ซึ่งส่งผลให้[[ลูกหนี้]]เกิดมี "[[สิทธิปฏิเสธ]]" ({{lang-en|right of refusal}}) ขึ้นสามารถปฏิเสธการเรียกร้องของเจ้าหนี้ที่เพิ่งมากระทำเมื่อล่วงเลยอายุความไปแล้วได้ ดังนั้น อายุความจึงเป็นเครื่องกระตุ้นให้เจ้าหนี้ระแวดระวังในการใช้สิทธิของตนมากขึ้น