ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แพขยะใหญ่แปซิฟิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหา
บรรทัด 103:
 
===ความหนาแน่นของพลาสติกในน้ำทะเลชั้นใกล้ผิว (neustonic plastics)===
แม้ ชาลส์ มูร์จะได้พรรณาไว้บ้างแล้วก็ตาม แพขยะตะวันออกก็ยังไม่อาจบอกถึงลักษณะได้ว่าเป็นแพขยะทะเลลอยน้ำหนาแน่นที่มองเห็นได้อย่างต่อเนื่อง กระบวนการเสื่อมสลายทำให้เม็ดพลาสติกที่สร้างผลกระทบในภูมิภาคขนาดใหญ่ของมหาสมุทรมีขนาดเล็กที่ไม่อาจมองเห็นได้ง่าย นักวิจัยประมาณว่าความหนาแน่นทั้งหมดของ[[มลพิษ]]พลาสติกในแพขยะทะเลตะวันออกด้วยการเก็บตัวอย่างที่พบในบางบริเวณเฉพาะของแพขยะว่ามีความหนาแน่นมากถึง 1.6 ล้านชิ้นต่อตารางกิโลเมตร<ref>{{Citation
| last1=Moore
| first1=Charles
บรรทัด 133:
 
==การทำความสะอาด==
ในเดือนเมษายน 2551 ริชาร์ด ซันดานซ์ โอเวน ผู้รับเหมาก่อสร้างและครูนักดำน้ำได้จัดตั้งแนวร่วมเพื่อทำความสะอาดสภาวะแวดล้อม (ECC) โดยได้ยกประเด็นของมลภาวะของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือขึ้น แนวร่วมนี้ร่วมมือกับกลุ่มอื่นๆ หาแนวทางและกรรมวิธีที่ปลอดภัยเพื่อขจัดพลาสติกสิ่งที่เป็นมลพิษที่ทนทาน ([[:en:persistent organic pollutant|persistent organic pollutant]] ออกจากมหาสมุทร<ref name="maui time" /><ref>[http://www.gyrecleanup.org/cleanup.html The Environmental Cleanup Coalition's "Gyre Cleanup" plan]</ref>
 
โครงการ “ไคเซอิ” ([[:en:Project Kaisei|Project Kaisei]]) คือโครงการเพื่อการศึกษาและทำความสะอาดแพขยะที่จัดตั้งขึ้นเมื่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ในเดือนสิงหาคมปีเดียวกัน เรือ 2 ลำจากโครงการ คือเรือ “ขอบฟ้าใหม่” ([[:en:RV New Horizon|RV New Horizon]]) และเรือไคเซอิ ([[:en:Kaisei|Kaisei]]) ได้ออกทะเลเดินทางไปทำการวิจัดแพขยะเพื่อกำหนดความเป็นไปได้ในการปฏิบัติการเชิงพาณิชย์เพื่อเก็บและแปรใช้ใหม่ (Recycle) <ref>{{cite web |title= Expedition Sets Sail to the Great Plastic Vortex |url= http://www.time.com/time/health/article/0,8599,1914145,00.html |first= Bryan |last= Walsh |work= [[Time (magazine)|Time]] |date= 1 August 2009 |accessdate= 2 August 2009 }}</ref><ref>http://news.yahoo.com/s/nm/20090804/us_nm/us_ocean_plastics</ref>
 
==ปัญหาขยะทะเลในอ่าวไทย==
แม้ขยะทะเลที่ปรากฏใน[[อ่าวไทย]]และตามชายหาดต่างๆ ของ[[ประเทศไทย]]จะมีปรากฏให้เห็นมากขึ้นแล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่ปรากฏโดยชัดเจนว่าได้มีผู้วิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้แล้วหรือไม่
 
 
==อ้างอิง==
เส้น 154 ⟶ 156:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://kaisei.blipback.com The Project Kaisei Voyage Tracker ] — Projectโครงการ Kaisei“ไคเซอิ” andและ Ojingolabs“โอจินกาะแลบ”
* [http://oceans.greenpeace.org/en/our-oceans/pollution/trash-vortex The trash vortex] — Greenpeaceกรีนพีซ
* [http://www.npr.org/templates/story/story.php?storyId=15713260 Navigating the Pacific's 'Garbage Patch'] — National Public Radioวิทยุสาธารณะแห่งชาติ
* [http://www.algalita.org/ Marine Research, Education and Restoration] — Algalita Marine Research Foundationมูลนิธิเพื่อการวิจัยทางทะเลอัลการริตา
* [http://environmentdebate.wordpress.com/2007/11/02/images-video-from-the-north-pacific-gyre/ Images & video from the North Pacific gyre] — WordPress.com
* [http://www.nytimes.com/2008/06/22/magazine/22Plastics22Plastics-t.html?_r=1&oref=slogin Sea of Trash] - New York Times Magazineวารสารนิวยอร์กไทม์
* [http://www.youtube.com/watch?v=M7KM7K-nq0xkWYnq0xkWY Captain Charles Moore on the seas of plastic] - YouTube กัปตันมูร์กับขยะพลาสติกในทะเล
* [http://www.ted.com/index.php/talks/capt_charles_moore_on_the_seas_of_plastic.html Charles Moore: Sailing the Great Pacific Garbage Patch] - TED Conference talkปาฐกกถาในการประชุมวิชาการ (20092552) – YouTube
* [http://skeptoid.com/episodes/4132 Skeptoid #132: The Sargasso Sea and the Pacific Garbage Patch]
*[http://www.huffingtonpost.com/laurie-david/e-mails-from-the-great-pa_b_215456pa_b_215456.html E-Mails From the Great Pacific Garbage Patch] by [[Laurie David]], ''The Huffington Post'', June 15 2009มิถุนายน 2552
 
{{Oceanic gyres}}
เส้น 174 ⟶ 176:
[[ca:Sopa de Plàstic del Pacífic]]
[[de:Müllstrudel]]
[[en:Great Pacific Garbage Patch]]
[[es:Parche de Basura del Este]]
[[fr:Plaque de déchets du Pacifique nord]]