ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
มีเรื่องเล่าว่า "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรเจ้าศรีพรหมา ณ น่าน ทรงพึงพอพระราชหฤทัย ถึงกับทรงออกพระโอษฐ์ ตรัสขอเจ้าศรีพรหมาด้วยพระองค์เอง ให้รับราชการในตำแหน่ง[[เจ้าจอม]] เจ้าศรีพรหมาได้กราบบังคมทูลพระกรุณาปฏิเสธเป็น[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า ท่านเคารพพระองค์ท่าน ในฐานะพระเจ้าอยู่หัว แต่มิได้รักใคร่พระองค์ในทางชู้สาว"<ref>[http://www.romanticgals.com/modules.php?name=News&file=print&sid=18 เจ้าศรีพรหมา]</ref> ในกราบบังคมทูลปฏิเสธ โดยเลี่ยงไม่ใช้[[ภาษาไทย]] แต่กลับใช้ภาษาอังกฤษ" เป็นการง่ายต่อการกราบบังคมทูลปฏิเสธ และไม่ทำให้ระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท รัชกาลที่ 5 ก็ทรงเมตตาให้เป็นไปตามอัธยาศัย เรื่องความกล้าของเจ้าศรีพรหมาครั้งนี้ และพระมหากรุณาของรัชกาลที่ 5 ที่มีต่อเจ้าศรีพรหมาเสมอมา มิทรงได้ถือโทษ ยังพระราชทานเมตตาต่อเจ้าศรีพรหมาเสมอมาตราบจนเสด็จสวรรคต
 
ในสมัย[[รัชกาลที่ 6]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปลี่ยนนามเจ้าศรี เป็น "เจ้าศรีพรหมา" ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2459]] ทรงขอเจ้าศรีพรหมาให้อภิเษกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร]] เจ้าศรีพรหมาจึงมีฐานะเป็น “หม่อมศรีพรหมา” มีบุตรธิดาด้วยกัน 2 คน คือ [[หม่อมราชวงศ์อนุพร กฤดากร|หม่อมราชวงศ์อนุพร]] และ[[หม่อมราชวงศ์เพ็ญศรี กฤดากร|หม่อมราชวงศ์เพ็ญศรี]] หม่อมเจ้าสิทธิพร ซึ่งรับราชการในตำแหน่งอธิบดี ใน[[กระทรวงเกษตร]] ถวายบังคมลาออกจากราชการซึ่งก็ถูกห้ามปรามอย่างมาก ทั้งสองพระองค์ประกอบอาชีพ[[เกษตรกรรม]] อยู่ที่[[อำเภอบางเบิด]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] เริ่มทำการเกษตรบนที่ดินของหม่อม เจ้าศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา ที่ได้รับเป็นมรดกจากท่านเจ้าคุณมหิบาลฯ โดยปลูกผักสวนครัว พืชไร่ เลี้ยงไก่ สุกรพันธุ์เนื้อ และโคนม และต่อมาขยายกิจการเป็น[[ฟาร์ม]] มีผลผลิตประสบความสำเร็จครั้งแรกของไทย ฟาร์มนี้ยังเป็นสถานีทดลองทางการเกษตรที่มีผลต่อ กสิกรรมในวงกว้าง เป็นผลทำให้หม่อมเจ้าสิทธิพรได้รับยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งการเกษตรแผนใหม่ของไทย
 
หลังจากเษกสมรสกับหม่อมเจ้าสิทธิพร รับราชการในตำแหน่งอธิบดี ใน[[กระทรวงเกษตร]] และหม่อม เจ้าศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา ทั้งสององค์จึงถวายบังคมลาออกจากราชการ แม้จะถูกคัดค้านอย่างมากก็ตาม เพื่อประกอบอาชีพ[[เกษตรกรรม]] อยู่ที่[[อำเภอบางเบิด]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] เริ่มทำการเกษตรบนที่ดินของหม่อม เจ้าศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา ที่ได้รับเป็นมรดกจากท่านเจ้าคุณมหิบาลฯ โดยปลูกผักสวนครัว พืชไร่ เลี้ยงไก่ สุกรพันธุ์เนื้อ และโคนม และต่อมาขยายกิจการเป็น[[ฟาร์ม]] มีผลผลิตประสบความสำเร็จครั้งแรกของไทย และฟาร์มแห่งนี้ยังเป็นสถานีทดลองทางการเกษตรที่มีผลต่อ กสิกรรมในวงกว้าง และหม่อมเจ้าสิทธิพรได้รับยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งการเกษตรแผนใหม่ของไทย
 
ทั้งสองท่านได้ออกหนังสือ “กสิกร” มีนักวิชาการ /ผู้รู้ เสนอบทความต่างๆ เกี่ยวกับการเกษตรมากมาย นอกจากนี้ยังมีคอลัมน์เกี่ยวกับการทำอาหาร และการถนอมอาหาร โดยหม่อม เจ้าศรีพรหมา เช่น การคั้นน้ำผลไม้ การหมักดอง การทำ[[แฮม]] และ[[เบคอน]] เป็นต้น ซึ่งหม่อม เจ้าศรีพรหมานับเป็นคนไทยคนแรกที่ทำหมูแฮมและเบคอนได้ในประเทศไทยในสมัยที่ยังไม่มีตู้เย็น
เส้น 45 ⟶ 43:
ในรัฐบาลของนาย[[ควง อภัยวงศ์]] หลังจากหม่อมเจ้าสิทธิพรพ้นโทษแล้ว ก็ได้ทรงเข้ารับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร ถึง 2 สมัย หม่อม เจ้าศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา จึงได้กลับมาอยู่ที่กรุงเทพฯ อีกครั้งหนึ่ง จนกระทั่งหม่อมเจ้าสิทธิพรสิ้นชีพิตักษัย เมื่อ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2514 หม่อม เจ้าศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา จึงได้ผลักดันให้เกิด “มูลนิธิสิทธิพร กฤดากร” เพื่อเป็นการสานต่อเจตนารมณ์ของหม่อมเจ้าสิทธิพร และส่งเสริมการจัดตั้ง[[โรงเรียน]]เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร
 
กระทั่งหม่อม เจ้าศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ [[25 กันยายน]] [[พ.ศ. 2521]] รวมอายุได้ 90 ปีเศษ อัฐิของท่านได้นำมาบรรจุไว้ที่ ณ [[วัดชนะสงคราม]]ร่วมกับพระอัฐิของหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
 
== หนังสืออัตชีวประวัติ ==