ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คามิกาเซะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SilvonenBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: eo:Kamikazo
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: sl:Kamikaze; ประทิ่นเปลี่ยนแปลง
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ=|สำหรับ= |ดูที่=กามิกาเซ่ (แก้ความกำกวม)}}
[[ภาพไฟล์:A6M5 52c Kyushu.jpg|right|285px|thumb|เครื่องบิน 52c Zeroes ถูกส่งจากเกาหลีสู่[[เกาะคิวชู]] (ต้นปี พ.ศ. 2488)]]
 
'''กามิกาเซ่''' {{ญี่ปุ่น|神風|Kamikaze|ออกเสียงแบบญี่ปุ่นว่า คามิกาเซะ}} หรือ เรียกอย่างเป็นทางการว่า '''กองกำลังจู่โจมพิเศษ''' (特別攻撃隊 ''โทะกุเบะสึโคเกะกิไต'') เป็นคำในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่าลมสวรรค์ หรือลมแห่งเทวะ กามิกาเซ่ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]] ถูกนำมาใช้เรียกลมสลาตัน และนำมาใช้เป็นชื่อฝูงบินและนักบินกามิกาเซ่เท่านั้น ต่างไปจากใน[[ภาษาอังกฤษ]]ที่ชาวตะวันตกนำคำๆ นี้มาใช้เรียกการโจมตีแบบพลีชีพ (suicide attacks) คำๆ นี้ได้ถูกนำมาใช้เรียกอากาศยานพลีชีพของญี่ปุ่นใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ซึ่งบรรทุกระเบิดและพุ่งเข้าชนเรือ และคำนี้ยังหมายถึงนักบินผู้บังคับอากาศยานประเภทนี้ด้วย
บรรทัด 10:
 
== ประวัติ ==
[[ภาพไฟล์:USS Intrepid CV-11 kamikaze strike.jpg|right|255px|thumb| เรือ Intrepid (CV-11) ถูกฝูงบินกามิกาเซ่โจมตี (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487)]]
นาวาโท [[อะไซกิ ทาไม]] อาจารย์สอน การบินทหารเรือ ได้สอบถามนักเรียนการบิน 23 คนในกลุ่มว่ามีใครสนใจจะเข้าร่วม ในกองกำลังโจมตีพิเศษ (Special Attack Force) โดยนักเรียนทั้งหมดตกลงที่จะเข้าร่วมการ ปฏิบัติการครั้งนี้ รวมทั้งต่อมา ยูคิโอะ เซกิ ก็เข้าร่วมเป็นคนที่ 24
หน่วยโจมตีพิเศษกามิกาเซ่นี้ มี 4 หน่วยย่อย คือ''หน่วยชิคิชิมา (Shikishima), หน่วยยามาโตะ (Yamato), หน่วยอาซาฮิ (Asahi) และ หน่วยยามาซาคูรา (Yamazakura)''ชื่อของ หน่วยย่อยเหล่านี้ นำมาจากบทกวีเกี่ยวกับความรักชาติ ซึ่งประพันธ์ โดยนักปราชญ์ยุคคลาสสิก ของญี่ปุ่น ชื่อ [[โมโตริ โนรินากะ]]
บรรทัด 25:
 
== กามิกาเซ่ ในมุมมองของชาวญี่ปุ่นผู้รักชาติ ==
[[ภาพไฟล์:Youngest kamikaze only 17 years old.jpg|160px|right|thumb|จากภาพ 26 พฤษภาคม 1945 ยูคิโอะ อาราคิ (อุ้มลูกสุนัข) ถ่ายรูปกับเพื่อนร่วมฝูงบินก่อนภารกิจพลีชีพเรือสัญชาติอเมริกัน เสียชีวิตด้วยวัย 17 ปี]]
ปฏิบัติการของเหล่านักบินกามิกาเซ่ ที่ดูบ้าบิ่นเกินมนุษย์ในสายตาของชาวตะวันตก แต่[[ชาวญี่ปุ่น]]กลับมีความคิดและความรู้สึกกับหน่วยโจมตีพิเศษนี้ด้วยความต้องการเสียสละ ไม่เคยขาดแคลนอาสาสมัคร นักบินที่จะมาทำงานให้แก่หน่วยโจมตีพิเศษพลีชีพกามิกาเซ่ มีจำนวนคนที่ต้องการจะมาเป็นนักบินพลีชีพ มากกว่าจำนวนเครื่องบินที่มีอยู่ถึงสามเท่า ในการคัดเลือกตัวนักบิน พวกนักบินมากประสบการณ์ต่าง ๆ จะถูกกีดกันออกไป เนื่องจากนักบินเหล่านี้มีคุณค่าใน[[การรบเชิงป้องกัน]] (defensive) และในการฝึกสอนนักบินรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งทางกองทัพจะต้องอาศัยนักบินมากประสบการณ์เหล่านี้ในระยะยาว
 
บรรทัด 36:
* ภิยะพรรณี วัฒนายากร [http://www.navy.mi.th/navic/document/890705a.html ฝูงบินพลีชีพกามิกาเซ่ (Kamikaze)] นาวิกศาสตร์ สำนักงานราชนาวิกสภา
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://wgordon.web.wesleyan.edu/kamikaze/ Kamikaze Images]
 
บรรทัด 79:
[[simple:Kamikaze]]
[[sk:Kamikadze]]
[[sl:KamikazaKamikaze]]
[[sr:Камиказе]]
[[sv:Kamikaze]]