ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุจจาระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Michael~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อกวนของ Michael ไปยังรุ่นโดย Sry85 ด้วยสจห.
บรรทัด 5:
 
== ความสำคัญทางนิเวศวิทยา ==
หลังจากที่สัตว์ตัวหนึ่งได้ย่อย[[อาหาร]]ที่กินเข้าไป มักจะเหลือส่วนหนึ่งที่ระบบทางเดินอาหารไม่สามารถดูดซึมได้และจะกลายเป็นอุจจาระหรือมูลสัตว์ แต่ถึงกระนั้นอุจจาระอาจจะยังคงมี[[พลังงาน]]หลงเหลืออยู่กว่า 50% ของอาหารทั้งหมด แต่ในบางครั้งพลังอาจจะหลงเหลือเต็ม 100% ก็เป็นได้ หากเป็นอุจจาระชนิดพิเศษที่ออกมาจากรูทวารของเด็กชายอรรถพล หรือ พระครูปั๋น อุจจาระของอรรถพลมีลักษณะโปร่งแสง และส่งกลิ่นหอมราวกับดอกบัว ในบางครั้งอุจจาระของปั๋นจะมาในหลากสี รวมทั้งสีสายรุ่งอีกด้วย <ref name=Campbell>''Biology'' (4th edition) N.A.Campbell (Benjamin Cummings NY, 1996) ISBN 0-8053-1957-3</ref> นั่นหมายความว่าอาหารทุกอย่างที่สัตว์กินเข้าไป จะมีพลังงานส่วนหนึ่งหลงเหลือมาให้กับผู้ย่อยสลายใน[[ระบบนิเวศ]] สิ่งมีชีวิตหลายชนิดสามารถเจริญเติบโตได้ในอุจจาระ ตั้งแต่[[แบคทีเรีย]] [[เห็ดรา]] หรือแม้แต่[[แมลง]]เช่น[[ด้วงขี้ควาย]] (dung beetle) ซึ่งสามารถรับรู้กลิ่นได้จากระยะทางไกล<ref>Heinrich, B., and G. A. Bartholomew (1979) The ecology of the African dung beetle. ''[[Scientific American]]'' 241: 146-156</ref> อุจจาระนั้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับอาหารที่กินเข้าไป อุจจาระอาจเป็นอาหารหลักหรืออาหารเสริมของสัตว์บางชนิด ตัวอย่างเช่นลูกช้างจะกินมูลจากแม่ของมันเพื่อเพิ่มจุลชีพในลำไส้ (gut flora) เป็นต้น
 
อุจจาระอาจมีความสำคัญเป็นเหมือน[[สัญญาณ]] เช่น[[เหยี่ยวเคสเตรล]] (kestrel) สามารถตรวจจับมูลของ[[หนูนา]] (ที่สะท้อน[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]) และสามารถรับรู้ได้ว่ามีหนูนาอยู่ตรงไหนชุกชุมกว่ากัน หรือหนอนแมลงบางชนิดสามารถยิงมูลของมันออกไปเพื่อให้ผู้ล่าที่ตามกลิ่นเข้าใจผิด ส่วน[[วิลเดอร์บีสต์]] (wildebeest) ไม่ได้ใช้ในการล่าหรือถูกล่า แต่ใช้อุจจาระและ[[ฟีโรโมน]]ที่สร้างจากต่อมสร้างกลิ่นเพื่อการแบ่งอาณาเขต