ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การคว่ำบาตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายออก
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:คว่ำบาตร (จริง ๆ).jpg|250px|thumb|การคว่ำบาตรในความหมายทางพระพุทธศาสนา ไม่ได้หมายความว่าคว่ำ[[บาตร]]ลง แต่หมายถึงการที่พระสงฆ์ลงมติลงโทษหรือตักเตือนชาวพุทธด้วยการไม่รับทานหรือ[[กิจนิมนต์]]ของ[[อุบาสก]][[อุบาสิกา]] (ภาพ: พระสงฆ์[[พม่า]]ชูบาตรที่คว่ำลงเพื่อเป็นการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ในการประท้วงครั้งใหญ่เมื่อปี [[พ.ศ. 2550]])]]
'''การคว่ำบาตร''' ({{lang-en|boycott}}) หมายถึง การยุติการติดต่อกันในมิติใดมิติหนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการลงโทษ ต่อรอง หรือเพื่อตักเตือน โดยที่มาของคำว่าคว่ำบาตรในภาษาไทยมาจากศัพท์ใน[[พระไตรปิฎก]][[เถรวาท]] แต่ส่วนใหญ่คำว่าคว่ำบาตรในประเทศไทยนั้นมักถูกใช้แทนความหมายของคำว่า boycott ใน[[ภาษาอังกฤษ]] ที่เป็นความหมายในด้าน[[การค้า]]หรือ[[การเมือง]]
 
การคว่ำบาตร (boycott หรือ บอยคอต) ในทางการค้า มักจะใช้ในระดับ[[การค้าระหว่างประเทศ]] โดยกลไกการคว่ำบาตรอาจจะมีทั้ง การไม่ยอมขาย[[สินค้า]]หรือ[[บริการ]]ให้ประเทศคู่ค้า หรือไม่ซื้อสินค้าหรือบริการจากประเทศคู่ค้า หรืออาจจะทั้งสองกรณีก็ได้ การคว่ำบาตรในความหมายทางการค้าจึงถือได้ว่าเป็นอาวุธทาง[[เศรษฐกิจ]]ที่ร้ายกาจอย่างหนึ่ง เพื่อใช้ต่อรองให้คู่กรณีจำยอมในข้อตกลงด้านอื่น ๆ เช่น ด้าน[[การทูต]] [[การเมือง]] [[วัฒนธรรม]] [[การทหาร]] หรือแม้แต่ด้านการค้า เนื่องเพราะทุก[[ประเทศ]]ใน[[โลก]]ต้องค้าขายกัน เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการที่ตนเองไม่สามารถผลิตเองได้ หรือผลิตได้ไม่พอกับความต้องการในประเทศ
 
== ที่มาของความหมายในทางเศรษฐกิจ ==
อนึ่ง ความหมายของคำว่า '''คว่ำบาตร''' นอกจากความหมายทางการค้าแล้ว ยังอาจหมายถึงการคว่ำบาตรของพระสงฆ์ใน[[พระวินัยปิฎก]]ด้วย ([[บาลี]]: นิกฺกุชฺชยกมฺม) โดยการคว่ำบาตรของพระสงฆ์นั้นมีที่มาจากศัพท์ในจุลวรรค [[พระวินัยปิฎก]] ที่กล่าวถึงการที่[[พระพุทธเจ้า]]ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์สามารถมีมติลงโทษคว่ำบาตร[[อุบาสก]][[อุบาสิกา]]ได้เพื่อให้มีสติสำนึกผิดในความผิดที่กระทำต่อ[[พระพุทธศาสนา]] การคว่ำบาตรในทางพระวินัยจึงถือเป็นการตักเตือนด้วยความปรารถนาดี โดยพระสงฆ์สามารถทำการคว่ำบาตรได้เฉพาะกับชาวพุทธเท่านั้นตามข้อกำหนดในพระวินัยปิฎกและตามสภาพที่เป็นจริงในทางปฏิบัติ
คว่ำบาตร ที่ใช้ในเชิงเศรษฐกิจ มาจากคำว่า ''Boycott'' ในภาษาอังกฤษ โดยเดิมนั้นเป็นนามสกุลของ กัปตันชาร์ลส์ คันนิ่งแฮม บอยคอต ซึ่งเป็นคนแรกที่ถูกคว่ำบาตร ไม่คบหาสมาคมด้วย สาเหตุของการที่กัปตันบอยคอต เป็นคนแรกในโลกที่ถูกคว่ำบาตร เนื่องมาจากว่าเขาเป็นเจ้าของที่ดินให้เช่ารายใหญ่ในไอร์แลนด์ แต่ว่ากันว่า กัปตันบอยคอตไล่ผู้เช่าที่ดินทำกินออกจากที่อย่างไร้เมตตา ชาวบ้านจึงรวมตัวกันประท้วงไม่ยอมทำงานให้ ไม่ให้ความร่วมมือใด ๆ ทั้งสิ้นและไม่คบหาสมาคมกับครอบครัวนี้ เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1880 แล้ว แต่ชื่อของเขาก็ยังถูกนำมาใช้อย่างต่อเนื่องยาวนานจนกลายเป็นศัพท์เฉพาะจนถึงปัจจุบัน
 
== ความหมายในทางพระพุทธศาสนา ==
{{บทความหลัก|การคว่ำบาตร (พุทธศาสนา)}}
คำว่า ''คว่ำบาตร'' นั้น มีที่มาจากการที่พระสงฆ์ลงโทษบุคคลผู้มีปรารถนาร้ายต่อพระรัตนตรัยอย่างร้ายแรง ซึ่งมีความผิดอยู่ 8 ประการ<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒ '''เรื่องเจ้าวัฑฒะลิจฉวี'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=7&A=809&Z=857&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 24 กรกฎาคม 2552</ref><ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕ อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต '''ปัตตสูตรที่ ๑'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=23&A=7329&Z=7336&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 24 กรกฎาคม 2552</ref> คือ
อนึ่ง ความหมายของคำว่า '''คว่ำบาตร''' นอกจากความหมายทางการค้าแล้ว ยังอาจหมายถึงการคว่ำบาตรของพระสงฆ์ใน[[พระวินัยปิฎก]]ด้วย ([[บาลี]]: นิกฺกุชฺชยกมฺม) โดยการคว่ำบาตรของพระสงฆ์นั้นมีที่มาจากศัพท์ในจุลวรรค [[พระวินัยปิฎก]] ที่กล่าวถึงการที่[[พระพุทธเจ้า]]ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์สามารถมีมติลงโทษคว่ำบาตร[[อุบาสก]][[อุบาสิกา]]ได้เพื่อให้มีสติสำนึกผิดในความผิดที่กระทำต่อ[[พระพุทธศาสนา]] การคว่ำบาตรในทางพระวินัยจึงถือเป็นการตักเตือนด้วยความปรารถนาดี โดยพระสงฆ์สามารถทำการคว่ำบาตรได้เฉพาะกับชาวพุทธเท่านั้นตามข้อกำหนดในพระวินัยปิฎกและตามสภาพที่เป็นจริงในทางปฏิบัติ
 
# ขวนขวายเพื่อมิใช่ลาภแก่สงฆ์
# ขวนขวายเพื่อมิใช่ประโยชน์แก่สงฆ์
# ขวนขวายเพื่อให้พระอยู่ไม่ได้
# ด่าว่าเปรียบเปรยภิกษุทั้งหลาย
# ยุยงให้สงฆ์แตกกัน
# ตำหนิติเตียนพระพุทธเจ้า
# ตำหนิติเตียนพระธรรม
# ตำหนิติเตียนพระสงฆ์
 
ฆราวาสผู้ใดมีพฤติกรรมดังกล่าว [[สังฆกรรม|พระสงฆ์จะประชุมกันแล้วประกาศ]]ไม่ให้ภิกษุทั้งหลายคบค้าสมาคมด้วย การคว่ำบาตรในทางพระวินัยไม่ได้หมายถึงการคว่ำบาตรลง แต่หมายถึงการไม่รับ[[บิณฑบาต]] ไม่รับนิมนต์ ไม่รับเครื่องใช้ อาหารหวานคาวที่บุคคลผู้นั้นนำมาถวาย<ref>อรรถกถา อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต สติวรรคที่ ๔ '''อรรถกถาปัตตสูตรที่ ๗'''. อรรถกถาพระไตรปิฎกฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย. [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=23&i=194]. เข้าถึงเมื่อ 24 กรกฎาคม 2552</ref> แต่หากต่อมาคนผู้นั้นสำนึกรู้สึกตน กลับมาประพฤติดี คณะสงฆ์ก็จะประกาศเลิก “คว่ำบาตร” ยอมให้ภิกษุทั้งหลายคบค้าสมาคมรับบิณฑบาต รับนิมนต์ รับเครื่องถวาย[[ไทยธรรม]]ได้ เรียกว่า “[[หงายบาตร]]” เป็นสำนวนคู่กัน
 
ดังนั้นการคว่ำและหงายบาตรจึงถือเป็นการลงโทษทาง[[จารีต]]แบบหนึ่ง<ref>{{cite web |title= |url=http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9520000083620 |date= 23 กรกฎาคม 2552 |work= “เสื้อแดง”แตกคอ “หงายบาตร”-ชี้แก้กรรมไม่ได้ |publisher= ผู้จัดการ |accessdate=23 กรกฎาคม 2552 }}</ref> ที่พระสงฆ์ได้นิยมถือปฏิบัติสืบมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เพื่อประโยชน์ในการตักเตือนและความอยู่โดยปกติสุขระหว่างพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน
 
== ที่มาของความหมายในทางเศรษฐกิจ ==
คว่ำบาตร ที่ใช้ในเชิงเศรษฐกิจ มาจากคำว่า ''Boycott'' ในภาษาอังกฤษ โดยเดิมนั้นเป็นนามสกุลของ กัปตันชาร์ลส์ คันนิ่งแฮม บอยคอต ซึ่งเป็นคนแรกที่ถูกคว่ำบาตร ไม่คบหาสมาคมด้วย สาเหตุของการที่กัปตันบอยคอต เป็นคนแรกในโลกที่ถูกคว่ำบาตร เนื่องมาจากว่าเขาเป็นเจ้าของที่ดินให้เช่ารายใหญ่ในไอร์แลนด์ แต่ว่ากันว่า กัปตันบอยคอตไล่ผู้เช่าที่ดินทำกินออกจากที่อย่างไร้เมตตา ชาวบ้านจึงรวมตัวกันประท้วงไม่ยอมทำงานให้ ไม่ให้ความร่วมมือใด ๆ ทั้งสิ้นและไม่คบหาสมาคมกับครอบครัวนี้ เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1880 แล้ว แต่ชื่อของเขาก็ยังถูกนำมาใช้อย่างต่อเนื่องยาวนานจนกลายเป็นศัพท์เฉพาะจนถึงปัจจุบัน
 
== อ้างอิง ==