ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชมพูทวีป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{พุทธศาสนา}}
 
'''ชมพูทวีป''' หมายถึง โลกมนุษย์ทั้งหมด ไม่ใช่อินเดีย-เนปาล อย่างที่หลายๆคนเข้าใจ ดังมีหลักฐานที่พระพุทธเจ้าแสดงดังนี้
'''ชมพูทวีป''' เป็นชื่อที่คนทั่วไปในสมัยโบราณรวมทั้งสมัยพุทธกาลเรียก [[ประเทศอินเดีย]] อันมีความหมายถึงทวีปต้นหว้า หรือทวีปที่มีสัณฐานดั่งต้น หว้า ในปัจจุบันได้แก่ประเทศทั้ง 4 คือ [[ประเทศอินเดีย]] [[ประเทศปากีสถาน|ปากีสถาน]] [[ประเทศเนปาล|เนปาล]] และ[[ประเทศบังคลาเทศ|บังคลาเทศ]] บางช่วงที่กษัตริย์[[อินเดีย]]เรืองอำนาจ [[ประเทศอัฟกานิสถาน|อัฟกานิสถาน]]ก็ถูกผนวกเข้ามาด้วย ดังเช่นสมัย[[พระเจ้าอโศกมหาราช]]หรือพระเจ้ากนิษกะ พระเจ้าหรรษวรรธนะ เป็นต้น
 
ที่อยู่ของมนุษย์ หรือมนุสสภูมินั้น อยู่บนพื้นดินลอยอยู่กลางอากาศ ในระดับเดียวกับไหล่เขาพระสุเมรุ ตั้งอยู่ในทิศทั้ง 4 ของเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นแกนกลางของจักรวาล ผืนแผ่นดินใหญ่ทั้ง 4 ที่ลอยอยู่ในทิศทั้ง 4 เรียกว่า ทวีป มีชื่อและที่ตั้ง ดังนี้
(รูป)
1. '''ปุพพวิเทหทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขาสิเนรุ
2. '''อปรโคยานทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขาสิเนรุ
3. '''ชมพูทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเขาสิเนรุ
4. '''อุตตรกุรุทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเขาสิเนรุ
 
'''รูปภาพที่ตั้งของทวีปทั้ง 4''' ในจักรวาล(กาแล็กซี่) ซึ่งมีเขาพระสุเมรเป็นแกนกลาง
 
http://www.dmc.tv/forum/index.php?act=attach&type=post&id=10795/Milky_Way_galaxy_sun05_____________.jpg
 
http://www.dmc.tv/images/guide/khammaphop2.jpg กามภพ
 
http://www.dmc.tv/images/guide/khammaphop.jpg กามภพ
 
http://www.dmc.tv/pages/guide/page04.html ปรโลก และ ชีวิตหลังความตาย คือ อะไร
 
http://www.dmc.tv/pages/guide/page05.html ปรโลก ฝ่ายสุคติ
 
 
'''เนื้อหาอ้างอิงจาก'''
 
http://main.dou.us/view_content.php?s_id=99&page=4 บทที่ 3 มนุสสภูมิ
 
http://www.dmc.tv/forum/index.php?showtopic=3923 ตำแหน่งของโลกในจักรวาล
 
[http://board.palungjit.com/f124/%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%9B-%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87-%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%94-%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2-%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5-45533.html อ้างอิง]
 
 
 
 
ทวีปต่างๆในจักรวาล
 
'''๑) ชมพูทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเขาสิเนรุ (เขาพระสุเมรุ)
-มีธาตุมรกตอยู่ทางทิศใต้ของเขาสิเนรุ แสงสะท้อนของธาตุมรกตทำให้ทองฟ้าและมหาสมุทรของชมพูทวีปมีสีน้ำเงินแกมเขียว
-มนุษย์ที่ชมพูทวีป มีความสูง ๔ ศอก มีอายุประมาณ ๑๐๐ ปี (อาจตายก่อนอายุได้ ไม่แน่นอน)
-มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้ อายุยิ่งหย่อนขึ้นอยู่กับคุณธรรม ไม่แน่นอน
-สมัยหนึ่งมนุษย์ในชมพูทวีปเคยมีอายุถึง ๘๐,๐๐๐ ปี แต่เมื่อคุณธรรมเสื่อมลง อาหารเลวลง อายุก็ลดลง
-ต่อไปภายภาคหน้ามนุษย์ในชมพูทวีป จะมีอายุเพียง ๑๐ ปี เท่านั้น และตัวจะเตี้ยถึงขนาดต้องสอยมะเขือกิน
-ดอกไม้ประจำชมพูทวีปคือ "ชมพู (ไม้หว้า)" ...เพราะเหตุนี้ ถึงเรียกว่า "ชมพูทวีป" เพราะดอกไม้ประจำทวีปนี้คือ ดอก "ชมพู"
 
เรื่องของชมพูทวีป เหตุที่เรียกชื่อดังนี้ เพราะทวีปนี้มีไม้หว้าเป็นพญาไม้ประจําทวีป (ต้นชมพู่ แปลว่าต้นหว้า)
ไม้หว้าต้นนี้อยู่ในป่าหิมพานต์ ลําต้นวัดโดยรอบ ๑๕ โยชน์ จากโคนถึงยอดสูงสุด ๑๐๐ โยชน์
จากโคนถึงค่าคบสูง ๕๐ โยชน์ ที่ค่าคบมีกิ่งทอดออกไปในทิศทั้ง ๔ แต่ละกิ่งยาว ๕๐ โยชน์
วัดจากโคนต้นไปทางทิศไหนก็จะสูงเท่ากับความยาวในแต่ละทิศ คือ ๑๐๐ โยชน์ ใต้กิ่งหว้า
ทั้ง ๔ นั้น เป็นแม่น้ำใหญ่ไหลผ่านไปในทิศทั้งหลาย ผลหว้ามีกลิ่นหอม รสหวานปานน้ำผึ้ง
หมู่นกทั้งหลายชวนกันมากินผลหว้าสุกนั้น บางทีผลสุกก็หล่นลงตามฝั่งแม่น้ำ แล้วงอกออก
เป็นเนื้อทอง และถูกน้ำพัดออกไปจมลงในมหาสมุทร เรียกทองนั้นว่า ทองชมพูนุท
เพราะอาศัยเกิดมาจาก ชมพูนที
 
'''๒) อมรโคยานทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขาสิเนรุ (เขาพระสุเมรุ)
-เป็นแผ่นดินกว้าง ๙,๐๐๐ โยชน์ ประกอบด้วยเกาะ และแม่น้ำใหญ่น้อย
-มีธาตุแก้วผลึกอยู่ทางทิศตะวันตกของเขาสิเนรุ แสงสะท้อนของธาตุแก้วผลึกทำให้ทองฟ้าและมหาสมุทรของอมรโคยานทวีปมีสีแก้วผลึก
-มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้ มีรูปหน้าเหมือนพระจันทร์ครึ่งซีก มีใบหน้าวงกลม คล้ายวงพระจันทร์ คนหน้าเหมือนดั่งเดือนแรม จมูกโด่ง คางแหลม
-มนุษย์ที่อมรโคยานทวีป มีความสูง ๖ ศอก มีอายุ ๕๐๐ ปี (จะไม่ตายก่อนอายุ เป็นกฏตายตัว)
-ดอกไม้ประจำอมรโคยานทวีปคือ "กะทัมพะ (ไม้กระทุ่ม)"
 
'''๓) ปุพพวิเทหะทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขาสิเนรุ (เขาพระสุเมรุ)
-เนื้อที่กว้าง ๗,๐๐๐ โยชน์ มีเกาะ ๔๐๐ เกาะ
-มีธาตุเงินอยู่ทางทิศตะวันออกของเขาสิเนรุ แสงสะท้อนของธาตุเงินทำให้ทองฟ้าและมหาสมุทรของปุพพวิเทหะทวีปมีสีเงิน
-มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้ มีรูปหน้าเหมือนพระจันทร์เต็มดวง คนหน้ากลมเหมือนดวงจันทร์ มีใบหน้าตอนบนโค้งตัดลงมาเหมือนบาตร
-มนุษย์ที่ปุพพวิเทหะทวีป มีความสูง ๙ ศอก มีอายุ ๗๐๐ ปี (จะไม่ตายก่อนอายุ เป็นกฏตายตัว)
-ดอกไม้ประจำปุพพวิเทหะทวีปคือ "สิรีสะ (ไม้ทรึก)"
 
'''๔) อุตตรกุรุทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเขาสิเนรุ (เขาพระสุเมรุ)
-มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม เนื้อที่กว้าง ๘,๐๐๐ โยชน์ เป็นที่ราบ
-มีธาตุทองคำอยู่ทางทิศเหนือของเขาสิเนรุ แสงสะท้อนของธาตุทองคำทำให้ทองฟ้าและมหาสมุทรของอุตรกุรุทวีปมีสีเหลืองทอง
-มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้ รูปร่างงาม มีลักษณะใบหน้าเป็นรูป ๔ เหลี่ยม รักษาศีล ๕ เป็นนิจ ไม่ยึดถือสมบัติ บุตร ภรรยา สามี ว่าเป็นของๆตน
-มนุษย์ที่อุตรกุรุทวีป มีความสูง ๑๓ ศอก มีอายุ ๑,๐๐๐ ปี (จะไม่ตายก่อนอายุ เป็นกฏตายตัว)
-มีต้นไม้นานาชนิด ดอกไม้ประจำอุตรกุรุทวีปคือ "กัปปรุกขะ (กัลปพฤกษ์)" ถ้าอยากได้อะไร ก็ไปนึกเอาที่ต้นกัลปพฤกษ์ จะสมปรารถนา
-มนุษย์ที่อุตรกุรุทวีป เมื่อตายจากทวีปนี้ ทุกคนจะได้ไปเกิดใน "เทวภูมิ" ทุกๆคน เป็นกฏตายตัว
----------------------------------
 
*ลักษณะของจักรวาล คือ มีเขาสิเนรุเป็นแกนกลาง มี เขาสัตตบริภัณฑ์ คือ เขาล้อมรอบ ๗ ชั้น ซึ่งมี สีทันดรมหาสมุทร คั่นอยู่ในระหว่าง ตั้งเป็นรูปร่างขึ้นไว้ก่อน ภูมิสวรรค์อยู่พ้นทวีปทั้งหลายซึ่งเป็นที่อยู่ของมนุษย์ เช่น ชมพูทวีปซึ่งมีอินเดียเป็นศูนย์กลาง จึงอยู่พ้นป่าหิมพานต์ พ้นภูเขาหิมวันตะหรือ หิมาลัย พ้นมหาสมุทรแห่งทวีปทั้งปวง แล้วถึงภูเขาสัตตบริภัณฑ์ ตั้งต้นแต่ภูเขาสุทัสสนะ จนถึงภูเขาอัสสกัณณะ จึงเป็นอันถึงสวรรค์ชั้นที่ ๑ เพราะยอดเขาสัตตบริภัณฑ์เหล่านี้เองเป็นที่อยู่ของท้าวมหาราช ๔ องค์กับบริวาร นับเป็นสวรรค์ชั้นที่ ๑ เรียกว่า จาตุมหาราชิก
 
 
ชาวโลกส่วนใหญ่ที่ยังไม่เริ่มศึกษาพระพุทธศาสนา มักมีความเข้าใจว่า มนุษย์มีอยู่เฉพาะในโลกที่เราอาศัยอยู่ในปัจจุบันเท่านั้น แต่หากได้ศึกษาคำสอนในพระพุทธศาสนาแล้วจะพบว่า โลกมนุษย์นั้นมีอยู่ถึง 4 ทวีปด้วยกัน แต่เราไม่สามารถไปถึงได้ เพราะอยู่ไกลกันมาก อีกทั้งยังมีความละเอียดประณีตมากกว่าโลกที่เราอยู่นี้ จึงทำให้มองไม่เห็นด้วยตาเนื้อ ต้องอาศัยทิพยจักษุ ดังที่เคยกล่าวมาแล้ว โลกที่เราอาศัย อยู่นี้ เรียกว่า ชมพูทวีป
 
ลักษณะของมนุษย์ ในทวีปทั้ง 4 เมื่อกล่าวโดยรวมแล้ว มีรูปร่าง สัณฐาน หน้าตา อยู่ในลักษณะเดียวกัน ต่างกันที่ขนาด ความได้สัดส่วน
และความประณีตสวยงาม เช่น มนุษย์ในชมพูทวีป มีใบหน้ารูปไข่ อปรโคยานทวีป มีใบหน้ากลมเหมือนดวงจันทร์วันเพ็ญ ปุพพวิเทหทวีป มีรูปหน้า
เหมือนมะนาวตัด หรือพระจันทร์ครึ่งซีกครึ่งวงกลม ส่วนอุตตรกุรุทวีป มีใบหน้าเป็นรูปสี่เหลี่ยม ความสวยงามของผู้คนใน 3 ทวีป ยกเว้นชมพูทวีป มี
ความสวยงามไม่แตกต่างกัน เนื่องจากมนุษย์โดยทั่วไป มีคุณธรรมในจิตใจเสมอเหมือนกัน เฉพาะในชมพูทวีปเท่านั้นที่ผู้คนมีความสวยงามมากน้อย
ต่างกัน ตามแต่กุศลกรรมที่ตัวเองได้ทำไว้ในอดีต
 
อายุมนุษย์ ทวีปทั้ง 4 ในช่วงแรกที่โลกมนุษย์เจริญ หรือในช่วงที่มีมนุษย์ต้นกัป ไม่ว่ามนุษย์ในทวีปใด ก็มีอายุถึงอสงไขยปีทั้งสิ้น เพราะจิตใจ
ของคนในสมัยนั้นมีกิเลส คือ โลภะ โทสะ โมหะ เบาบาง ทำให้สิ่งแวดล้อม ดิน ฟ้า อากาศ และอาหารของมนุษย์สมบูรณ์ จึงเป็นเหตุให้อายุมนุษย์ยืน
ยาว
ครั้นต่อมามนุษย์ในทวีปทั้ง 4 มีอกุศลจิตเกิดขึ้น ทำให้สิ่งแวดล้อมต่างๆ เริ่มเปลี่ยนแปลงผิดปกติไปจากเดิม กล่าวคือ เมื่อหนาวก็หนาวเกิน เมื่อร้อนก็ร้อนเกิน ฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล คุณค่าทางอาหารก็ลดน้อยลง สิ่งเหล่านี้ทำให้อายุของมนุษย์ลดลงตามลำดับ เมื่ออายุขัยลดลงถึง 1,000 ปี มนุษย์ที่อยู่ในอุตตรกุรุทวีปก็คงที่เพียงนั้น ไม่ลดลงอีก เพราะไม่มีกิเลสเพิ่มขึ้นอีก ในทำนองเดียวกัน อายุขัยของมนุษย์ที่อยู่ในปุพพวิเทหทวีปคงที่อยู่ที่ 700 ปี ที่อปรโคยานทวีป อายุขัยของมนุษย์คงที่อยู่ที่ 500 ปี
คงไว้แต่ชมพูทวีปเท่านั้น ที่อายุขัยของมนุษย์ยังคงลดลงเรื่อยๆ เพราะมีกิเลสกล้าไม่สิ้นสุด และจะลดลงจนกระทั่งเหลือ 10 ปี
อาหารทั้งปวงที่รสดีจะหมดไป สิ่งแวดล้อมจะเสื่อมโทรม ผู้คนมีโทสะ กล้าแข็ง ในที่สุดก็เกิดการรบราฆ่าฟันกันเองจนเกิดการนอง
เลือดตลอด 7 วัน ในกาลนั้นจะมีมนุษย์บางกลุ่ม หลบหนีซ่อนตัวอยู่ในหุบเขาห่างไกล และเริ่มประกอบกุศลอีกครั้ง ซึ่งมีผลทำให้
อายุขัยของมนุษย์เพิ่มขึ้น และจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ กระทั่งขึ้นไปถึงอายุ 80,000 ปี จนถึงอสงไขยปี อายุขัยของคนในชมพูทวีปจะขึ้นลง
อยู่อย่างนี้ตามอำนาจกิเลสที่แรงกล้าหรือเบาบางของมนุษย์ในแต่ละยุค เรื่องนี้มีหลักฐานปรากฏอยู่ใน จักกวัตติสูตร1 นักศึกษา
ควรหาโอกาสศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม
ความเป็นอยู่ของมนุษย์ในทวีปทั้ง 3 ยกเว้นชมพูทวีป มีความเป็นอยู่ที่สุขสบาย มีสิ่งแวดล้อมที่สะอาดบริสุทธิ์ ไม่มีมลภาวะ ทำให้อาหารการกิน และ
น้ำท่าอุดมสมบูรณ์ โรคภัยไข้เจ็บไม่เบียดเบียนเหมือน อย่างในชมพูทวีป ที่เป็นเช่นนี้เพราะมนุษย์ใน 3 ทวีป มีศีลธรรมที่เป็นปกติ สม่ำเสมอ ส่วน
มนุษย์ในชมพู-ทวีป มีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันมาก บางคนสุขสบาย บางคนลำบาก บางคนปานกลาง ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการกระทำของแต่ละคน
แต่ละยุคในชมพูทวีป อาจกล่าวได้ว่า มนุษย์ในชมพูทวีป มีความแตกต่างกันมากที่สุดก็ว่าได้
 
'''วิดีโอที่เกี่ยวข้อง'''
 
http://www.kalyanamitra.org/vdo/index_vdo_track.php?id=29 แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ วันพระพุทธเจ้าเปิดโลก (วันเทโวโรหณะ วันออกพรรษา)
 
http://www.youtube.com/watch?v=9xJ7vIXfMZA วันออกพรรษา พุทธเจ้าเปิดโลก ตอนที่ 1
 
http://www.youtube.com/watch?v=BP2Pdm9QNzU วันออกพรรษา พุทธเจ้าเปิดโลก ตอนที่ 2
 
http://www.youtube.com/watch?v=N98QxR-lSa8 วันออกพรรษา พุทธเจ้าเปิดโลก ตอนที่ 3
 
 
'''ชมพูทวีป''' อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของไทย แต่คำว่าชมพูทวีป กลับไม่เป็นที่รู้จักในอินเดียมากนัก ยกเว้นนักการศึกษาเท่านั้น พวกเขาจะรู้จัก คำว่า ภารตะมากกว่าเพราะเป็นชื่อที่มาจากท้าวภารตะ ปฐมวงศ์แห่งราชวงศ์ปาณฑปจากเรื่องมหาภารตะ ความจริงคำที่เรียกชื่ออินเดีย มีหลายชื่อ เช่น [[ภารตะ]] ฮินดูสถานสินธุสถาน อินเดีย คำว่า "อินเดีย" เพี้ยนมาจากคำว่า [[สินธุ]] (Sindhu) อันเป็นชื่อแม่น้ำสำคัญทางภาคเหนือของอินเดีย ชาว[[เปอร์เซีย]]พูดเพี้ยนเป็น ''อินดู'' ชาว[[ฮอลันดา]] เรียก ''อินดัส'' และ[[อังกฤษ]]เรียกอินเดียตามลำดับ อากาศของชมพูทวีปมีตั้งแต่หนาวที่สุดในเขตเหนือ โดยเฉพาะ[[เทือกเขาหิมาลัย]] จนถึงแห้งแล้งที่สุด ในเขตทะเลทราย [[รัฐราชสถาน]] ดังนั้นแต่ละภาคจึงมีอากาศไม่เท่ากัน ด้วยความที่ใหญ่โต จนกล่าวได้ว่าเป็นทวีปเล็ก ๆ (Subcontinent) ทวีปหนึ่ง อินเดียเป็นประเทศที่เคยเจริญรุ่งเรืองมายาวนาน เทียบเคียงได้กับ[[อียิปต์]]และ[[จีน]] หลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบมีหลายแห่งเช่น ซากโบราณสถานเมืองโมเหนโจ ตาโร ที่[[แคว้นสินธุ]] และมหัปปะที่แคว้นปัญจาปใน[[ปากีสถาน]] ซึ่งมีอายุเก่าแก่ราว 3,500 ปีก่อน[[พุทธกาล]]
 
'''ชมพูทวีป''' ยุคก่อนและยุคพุทธกาลแบ่งแคว้นออกเป็น 16 แคว้นใหญ่ ๆ ตามที่ปรากฏในอุบาลีอุโบสถสูตร ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย คือ
{|
|--- valign=top