ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเทียมพ้องคาบโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: mk:Геосинхрони сателити; ประทิ่นเปลี่ยนแปลง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
 
'''ดาวเทียมพ้องคาบโลก''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Geosynchronous satellite) เป็นดาวเทียมที่มีเส้นทาง[[วงโคจร]]ที่เวียนมาซ้ำจุดเดิมอยู่เสมอเป็นประจำ ถ้าวงโคจรของ[[ดาวเทียม]]ประเภทนี้อยู่เหนือ[[เส้นศูนย์สูตร]]และมีและโคจรเป็นวงกลม เรียกว่า [[ดาวเทียมประจำที่]] (Geostationary satellite) วงโคจรของดาวเทียมจึงมีชื่อเรียกสองอย่างคือ ''วงโคจรพ้องคาบโลก'' และ ''วงโคจรประจำที่'' วงโคจรพ้องคาบโลกอีกประเภทหนึ่งได้แก่ ''วงโคจรวงรีทรุนดา'' (Tundra elliptical orbit) โครงข่ายพ้องคาบโลก คือโครงข่ายของ[[การสื่อสาร]]ที่ขึ้นอยู่กับ หรือ ยิง[[สัญญาณ]]ผ่านดาวเทียมพ้องข้ามโลกนั่นเอง
'''ดาวเทียมพ้องคาบโลก''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Geosynchronous satellite)
เป็นดาวเทียมที่มีเส้นทาง[[วงโคจร]]ที่เวียนมาซ้ำจุดเดิมอยู่เสมอเป็นประจำ
 
ถ้าวงโคจรของ[[ดาวเทียม]]ประเภทนี้อยู่เหนือ[[เส้นศูนย์สูตร]]และมีและโคจรเป็นวงกลม เรียกว่า [[ดาวเทียมประจำที่]] (Geostationary satellite)
 
วงโคจรของดาวเทียมจึงมีชื่อเรียกสองอย่างคือ ''วงโคจรพ้องคาบโลก'' และ ''วงโคจรประจำที่''
 
วงโคจรพ้องคาบโลกอีกประเภทหนึ่งได้แก่ ''วงโคจรวงรีทรุนดา'' (Tundra elliptical orbit)
 
โครงข่ายพ้องคาบโลก คือโครงข่ายของ[[การสื่อสาร]]ที่ขึ้นอยู่กับ หรือ ยิง[[สัญญาณ]]ผ่านดาวเทียมพ้องข้ามโลกนั่นเอง
 
== นิยาม ==
ตาม "[[กฎของเคปเลอร์]]" ข้อที่สาม [[คาบการโคจร]]ของดาวเทียมที่เป็นวงกลมจะเพิ่มตามระยะความสูงที่เพิ่ม
 
[[สถานีอวกาศ]]และ[[กระสวยอวกาศ]] ชนิดวงโคจรต่ำระหว่าง 320 - 640 [[กิโลเมตร]]เหนือผิวโลกจะโคจรรอบโลกวันละ 15 - 16 รอบต่อวัน [[ดวงจันทร์]]ที่อยู่ห่างจากผิวโลก 385,000 กิโลเมตรจะใช้เวลาโคจรรอบโลก 30 วันต่อรอบ และในระหว่างความสูงของวงโคจรดังกล่าวนี้เอง จะมีความสูง "พิศวง" ณ ระดับ 35,786 กิโลเมตร ที่วงโคจรรอบโลกของดาวเทียมจะเท่าการหมุนของโลกพอดี เท่ากับ[[วันดาราคติ]] (sidereal day) คือ 23 ชั่วโมง 56 นาที เรียกว่า '''วงโคจรพ้องคาบโลก'''
และในระหว่างความสูงของวงโคจรดังกล่าวนี้เอง จะมีความสูง "พิศวง" ณ ระดับ 35,786 กิโลเมตร
ที่วงโคจรรอบโลกของดาวเทียมจะเท่าการหมุนของโลกพอดี เท่ากับ[[วันดาราคติ]] (sidereal day) คือ 23 ชั่วโมง 56 นาที
เรียกว่า '''วงโคจรพ้องคาบโลก'''
 
แต่ถ้า วงโคจรของดาวเทียมพ้องคาบโลก ไม่เข้าแนบเส้นศูนย์สูตรพอดี เรียกว่า '''วงโคจรเอียง''' และถ้ามองจากพื้นดิน จะเห็นเหมือนว่า ดาวเทียมแกว่งกวัดที่จุดตายตัวจุดหนึ่งบนท้องฟ้าและถ้ามุมระหว่างวงจรและเส้นศูนย์สูตรแคบลง การแกว่งกวัดจะลดลงจนถ้าทับแนวเส้นศูนย์สูตรพอดี ดาวเทียมจะเข้าตำแหน่งสัมพันธ์ประจำที่กับจุดหนึ่งบนพื้นผิวโลก เรียกว่า '''ดาวเทียมประจำที่'''
และถ้ามองจากพื้นดิน จะเห็นเหมือนว่า ดาวเทียมแกว่งกวัดที่จุดตายตัวจุดหนึ่งบนท้องฟ้า
 
และถ้ามุมระหว่างวงจรและเส้นศูนย์สูตรแคบลง การแกว่งกวัดจะลดลง
จนถ้าทับแนวเส้นศูนย์สูตรพอดี ดาวเทียมจะเข้าตำแหน่งสัมพันธ์ประจำที่กับจุดหนึ่งบนพื้นผิวโลก เรียกว่า '''ดาวเทียมประจำที่'''
 
== การประยุกต์ ==
ปัจจุบันมีดาวเทียมพ้องคาบโลกโคจรและใช้งานอยู่ประมาณ 300 ดวง ดาวเทียมประจำที่จะดูเหมือนอยู่นิ่งตายตัว ที่ตำแหน่งหนึ่งเหนือผิวโลก การรับและส่ง[[สัญญาณวิทยุโทรทัศน์]] จึงไม่ต้องใช้[[จานรับสัญญาณ]] ที่ต้องคอยหันเหติดตามดาวเทียม การก่อสร้างจึงสามารถประจำตำแหน่งโดยตายตัวได้ ทำให้ค่าก่อสร้างและค่าใช้จ่ายปฏิบัติการต่ำกว่าดาวเทียมรูปแบบหันเหติดตามมาก ดาวเทียมประเภทนี้ปฏิวัติระบบการสื่อสาร ทั้งการส่งสัญญาณ[[วิทยุโทรทัศน์]] [[การพยากรณ์อากาศ]] และ[[การสอดแนม]]ป้องกันประเทศ
ปัจจุบันมีดาวเทียมพ้องคาบโลกโคจรและใช้งานอยู่ประมาณ 300 ดวง
 
ดาวเทียมประจำที่จะดูเหมือนอยู่นิ่งตายตัว ที่ตำแหน่งหนึ่งเหนือผิวโลก การรับและส่ง[[สัญญาณวิทยุโทรทัศน์]] จึงไม่ต้องใช้[[จานรับสัญญาณ]] ที่ต้องคอยหันเหติดตามดาวเทียม การก่อสร้างจึงสามารถประจำตำแหน่งโดยตายตัวได้ ทำให้ค่าก่อสร้างและค่าใช้จ่ายปฏิบัติการต่ำกว่าดาวเทียมรูปแบบหันเหติดตามมาก ดาวเทียมประเภทนี้ปฏิวัติระบบการสื่อสาร ทั้งการส่งสัญญาณ[[วิทยุโทรทัศน์]] [[การพยากรณ์อากาศ]] และ[[การสอดแนม]]ป้องกันประเทศ
 
ข้อเสียของการใช้ดาวเทียมรูปแบบนี้คือ ระดับความสูงที่มาก สัญญาณจึงต้องใช้เวลาเดินทางไปและกลับประมาณ 0.25 วินาที่ ทำให้เกิด[[การเหลื่อมเวลา]]ที่สร้างปัญหาแก่สัญญาณวิทยุสื่อสารและสัญญาณ[[โทรศัพท์]]ที่ต้องโต้ตอบกันไปมา แต่ก็ไม่มีปัญหาใดๆ สำหรับสัญญาณโทรทัศน์เพราะเป็นสัญญาณทางเดียว