ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การคว่ำบาตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:คว่ำบาตร (จริง ๆ).jpg|250px|thumb|การคว่ำบาตรในความหมายทางพระพุทธศาสนา ไม่ได้หมายความว่าคว่ำ[[บาตร]]ลง แต่หมายถึงการที่พระสงฆ์ลงมติลงโทษชาวพุทธด้วยการไม่รับทานหรือกิจนิมนต์ของอุบาสกอุบาสิกา (ภาพ: พระสงฆ์[[พม่า]]ชูบาตรที่คว่ำลงเพื่อเป็นการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ในการประท้วงครั้งใหญ่เมื่อปี [[พ.ศ. 2550]])]]
'''การคว่ำบาตร''' ({{lang-en|boycott}}) หมายถึง การยุติการติดต่อกันในมิติใดมิติหนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการลงโทษ ต่อรอง หรือเพื่อตักเตือน โดยที่มาของคำว่าคว่ำบาตรในภาษาไทยมาจากศัพท์ใน[[พระไตรปิฎก]][[เถรวาท]] แต่ส่วนใหญ่คำว่าคว่ำบาตรในประเทศไทยนั้นจะถูกใช้แทนความหมายของคำว่า boycott ใน[[ภาษาอังกฤษ]] ที่เป็นความหมายในทาง[[การค้า]]
 
การคว่ำบาตร (boycott หรือ บอยคอต) ในทางการค้า มักจะใช้ในระดับ[[การค้าระหว่างประเทศ]] โดยกลไกการคว่ำบาตรอาจจะมีทั้ง การไม่ยอมขาย[[สินค้า]]หรือ[[บริการ]]ให้ประเทศคู่ค้า หรือไม่ซื้อสินค้าหรือบริการจากประเทศคู่ค้า หรืออาจจะทั้งสองกรณีก็ได้ การคว่ำบาตรในความหมายทางการค้าจึงถือได้ว่าเป็นอาวุธทาง[[เศรษฐกิจ]]ที่ร้ายกาจอย่างหนึ่ง เพื่อใช้ต่อรองให้คู่กรณีจำยอมในข้อตกลงด้านอื่น ๆ เช่น ด้าน[[การทูต]] [[การเมือง]] [[วัฒนธรรม]] [[การทหาร]] หรือแม้แต่ด้านการค้า เนื่องเพราะทุก[[ประเทศ]]ใน[[โลก]]ต้องค้าขายกัน เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการที่ตนเองไม่สามารถผลิตเองได้ หรือผลิตได้ไม่พอกับความต้องการในประเทศ