ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซีเอ็ดยูเคชั่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ข้อมูลบริษัท
[[ไฟล์:Example.jpg]]
| company_name = บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
| company_logo =
บรรทัด 27:
* บริษัทฯ ได้รับอนุญาตให้เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในภาคอุตสาหกรรมบริการ หมวดธุรกิจ สื่อและสิ่งพิมพ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534
* เป็นบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2536
* ในเริ่มแรก ผลิตวารสารรายเดือน “[[เซมิคอนดัคเตอร์อิเล็กทรอนิกส์”ดัคเตอร์อิเล็กทรอนิกส์]]” และเป็นผู้แทนจำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ
* ในปี พ.ศ. 2521 เริ่มผลิตวารสารรายเดือน “ทักษะฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
* ในปี พ.ศ. 2522 เริ่มผลิตวารสารรายเดือน “มิติที่ 4”
* ในปี พ.ศ. 2523 เริ่มผลิตหนังสือวิชาการด้านวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ออกจำหน่าย ต่อมาได้ขยายสายงานผลิตออกมาเป็น ฝ่ายผลิตตำราและหนังสือเชิงวิชาการ
* ในปี พ.ศ. 2526 ผลิตวารสารรายเดือน [[ไมโครคอมพิวเตอร์]] และเริ่มผลิตหนังสือด้านไมโครคอมพิวเตอร์ออกจำหน่าย พร้อมกันนี้ก็เริ่มต้น หมวดหนังสือบริหาร / การจัดการ
* ในปี พ.ศ. 2528 ซีเอ็ด เริ่มใช้ระบบการจัดจำหน่ายหนังสือแบบ Standing Order และได้รวมวารสาร ทักษะฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวารสาร มิติที่ 4 เข้าด้วยกัน และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นวารสาร "รู้รอบตัว" ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "UpDATE" ขณะเดียวกันก็ได้ขยายสายงานผลิตหนังสือส่งเสริมเยาวชน
* ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 “วิทยาศาสตร์อ่านสนุก” "รู้รอบตัวแสนสนุก" "ธรรมชาติมหัศจรรย์" เทคโนโลยีมหัศจรรย์" การ์ตูนชุดเสริมความรู้ชุดแรก ก็ได้ออกวางแผง
 
* ซีเอ็ด บุกเบิกธุรกิจวารสาร และหนังสือเชิงวิชาการ และได้พัฒนามาเป็นสำนักพิมพ์สาระความรู้ และมีระบบจัดการจำหน่ายหนังสือที่มีมาตรฐาน ได้พัฒนามาเป็นผู้รับจัดจำหน่ายหนังสือให้กับสำนักพิมพ์อื่นที่ผลิตหนังสือประเภทแนวคล้าย ๆกัน
บรรทัด 41:
* ในไตรมาสที่ 3 พ.ศ. 2533 ซีเอ็ดจึงยื่นเรื่องเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมกันนี้ก็ได้เริ่มโครงการร้านหนังสือ “ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์” โดยตั้งอยู่ภายในห้างใหญ่ ขึ้นเพื่อเพิ่มช่องทางในการกระจายสินค้าสู่ผู้บริโภค โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ผู้ที่ชื่นชอบการเดินเข้าห้างสรรพสินค้าใหญ่
 
* ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์สาขาแรก ได้เปิดอย่างเป็นทางการขึ้นในปลายปี พ.ศ. 2534 ที่ศูนย์การค้าฟอร์จูนทาวน์ (ฟอร์จูนทาวน์ ตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2522]])
* ในปี พ.ศ. 2534 ผลิตพ็อตเก็ตบุ๊คเอาไว้อ่านเล่น ได้มีความรู้ทางวิชาการ เช่น "จริงสุดกู่ ตลกสุดกึ้น" "ธรรมชาติมหัศจรรย์" "เกมนักสืบ" "สนุกคิดสะกิดเชาวน์" "สนุกทายสนุกคิด" "เหลี่ยมเนรมิตรูป" "เคล็ดลับช่วยจำ" "ไม่เชื่อก็ลองทำ" "วิทยาศาสตร์มหัศจรรย์" "สนุกกับปฏิบัติการสายสืบ" "101 ไอเดียรอบตัว" "ลึกลับอมตะ" "202 ไอเดียรอบตัว" "ค้นคำถาม หาคำตอบกับ Fido Dido" "203 ไอเดียรอบบ้าน" ก็ได้ออกวางตลาด
* ในปี พ.ศ. 2534 ซีเอ็ดได้ก่อตั้งบริษัท ไลบรารี่ จำกัด (หรือ[[บริษัท สกอลลาร์ วิดีโอ จำกัด]]) เป็นศูนย์จำหน่ายคอมแพ็ตดิสก์และเทปเพลงลูกทุ่งและเพลงสากลระดับนักบริหาร หนังสือเสียง และตัวแทนจำหน่ายวิดีโอภาพยนตร์ไทยและต่างประเทศ วิดีโอคาราโอเกะ วิดีโอสารคดีสัตว์โลก วิดีโอฟูตบอลโลก , แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด และ ลิเวอร์พูล เพราะฉะนั้น โฮมคอลเลจได้เลิกตัวแทนจำหน่ายในเมื่อปี พ.ศ. 2539 สกอลลาร์ได้จำหน่ายวิดีโอสื่อการเรียนการสอน
* ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์ ได้เริ่มเปิดในซูเปอร์เซ็นเตอร์ อย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกในไตรมาสที่ 3 พ.ศ. 2539 ที่โลตัสซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาพัทยา โดยจัดวางผังร้าน หน้าร้าน เคาน์เตอร์ คลังสินค้า ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยตรงตามมาตรฐานที่ได้วางไว้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพและง่ายต่อการจัดการ