ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงสี่สุภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dhanitar (คุย | ส่วนร่วม)
เติมรายละเอียด สัมผัสนอก สัมผัสใน และ คำสร้อย อ้างอิง จาก หนังสือ "การประพันธ์โคลงสี่สุภา
Dhanitar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
หนังสือจินดามณี ของ พระโหราธิบดี อธิบายการประพันธ์โคลงสี่สุภาพไว้ว่า
 
:::::::สิบเก้าเสาวภาพแก้ว กรองสนธิ์
::::จันทรมณฑล สี่ถ้วน
::::พระสุริยะเสด็จดล เจ็ดแห่ง
::::แสดงว่าพระโคลงล้วน เศษสร้อยมีสอง
 
- '''เสาวภาพ''' หรือ '''สุภาพ''' หมายถึง''คำที่มิได้กำหนดรูปวรรณยุกต์ ทั้ง เอก โท ตรี และจัตวา'' ('''ส่วนคำที่มีรูปวรรณยุกต์กำกับเรียกว่า พิภาษ)'''
บรรทัด 21:
ได้แก่คำที่กากบาทในแผนผังข้างล่าง
 
::::::::๐ ๐ ๐ อ ท ๐ X ( ๐ ๐ )
:::::๐ อ ๐ ๐ X อ ท
:::::๐ ๐ อ ๐ X ๐ อ ( ๐ ๐ )
:::::๐ อ ๐ ๐ ท อ ท ๐ X
 
โคลงสี่สุภาพที่ถือว่าเป็นโคลงแบบ คือมีรูปวรรณยุกต์ตรงตามบังคับนั้นมีตัวอย่างอยู่ในวรรณคดีหลายเรื่อง เช่น ลิลิตพระลอ โคลงนิราศนรินทร์ โคลงนิราศพระประธม เป็นต้น ตัวอย่างจากหนังสือจินดามณี พระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงษาธิราชสนิท ว่าดังนี้
 
::::::นิพนธ์กลกล่าวไว้ เป็นฉบับ
::พึงเพ่งตามบังคับ ถี่ถ้วน
::เอกโทท่านลำดับ โดยที่ สถิตนา
::ทกทั่วลักษณะล้วน เล่ห์นี้คือโคลง
 
== การประพันธ์โคลงสี่สุภาพ ==
บรรทัด 68:
ในจินดามณี ฉบับพระโหราธิบดี อธิบายสัมผัสบังคับของโคลงสี่สุภาพไว้ว่า
 
::::::ให้ปลายบาทเอกนั้น มาฟัด
:::ห้าที่บทสองวัจน์ ชอบพร้อง
:::บทสามดุจเดียวทัด ในที่ เบญจนา
:::ปลายแห่งบทสองต้อง ที่ห้าบทหลัง
 
 
บรรทัด 137:
นอกจากนี้มีคำสร้อยที่เรียกว่า '''"สร้อยเจตนัง"''' คือใช้ตามใจกวี ควรหลีกเลี่ยงในงานกวีนิพนธ์ที่เป็นพิธีการ และหาตัวอย่างได้น้อยเนื่องจากไม่นิยมกันดังกล่าว
 
::::::::::"หายเห็นประเหลนุช นอนเงื่อง งงง่วง" ''โคลงนิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย''
 
::::::::::"พวกไทยไล่ตามเพลิง เผาจุด ฉางฮือ" ''โคลงภาพพระราชพงศาวดาร''
 
::::::::::"ลัทธิท่านเคร่งเขมง เมืองท่าน ถือฮอ" ''โคลงภาพฤาษีดัดตน''
 
== ตัวอย่าง ==