ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือดำน้ำในอาเซียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bang Petro (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 19:
 
== การพัฒนาหน่วยเรือดำน้ำของประเทศต่างๆ ในตะวันออกเฉียงใต้ ==
[[ประเทศอินโดเนเซีย]] เป็นประเทศที่ประกอบด้วยหมู่เหมาะน้อยใหญ่นับพันเกาะ ในทศวรรษที่ [[1960]] กองทพมีรือดำน้ำกองทัพมีเรือดำน้ำจาก[[สหภาพโซเวียตหลย]]หลายประเภททั้งเรือลาดตระเวน เรือพิฆาตรวมทั้งเรือดำน้ำชั้นวิสกี้ ในทศวรรศที่ 1980 กองทัพเรืออินโดนีเซียสั่งต่อเรือดำน้ำชั้น 209 จาก อดีต[[เยอรมันตะวันตก]]จำนวน 2 ลำ เเละประกาศว่าจะซื้อ[[เรือดำน้ำ]]ชั้น 209 มือสองจากกองทัพเรือ[[เกาหลีใต้]] 4 ลำ เเต่เนื่องด้วยมูลค่าอันมหาศาลของโครงการนี้ มีโอกาสน้อยมากที่จะประสพความสำเร็จ
[[ไฟล์:Chang bogo class.jpg|thumbnail|250px|เรือดำน้ำที่อินโดนีเซียมีเเผนจะซื้อจากกองทัพเรือเกาหลีใต้]]
 
 
[[สิงคโปร์]]เเม้จะเป็นประเทศเล็กๆเเต่[[สิงคโปร์]]ก็ตั้งอยู่บนจุดยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญเเห่งหนึ่งของโลก คือ[[ช่องเเคบมะละกา]] ซึ่งเป็นทางผ่านที่สำคัญของการเดินเรือจาก[[มหาสมุทรอินเดีย]] ไปสู่ [[มหาสมุทรเเปซิฟิก]] กองทัพเรือสิงคโปร์มีการพัฒนาที่ก้าวหน้า ไกลกว่าชาติอื่นๆในภูมิภาคนี้ กองทัพเรือ[[สิงคโปร์]]เริ่มโครงการเรือดำน้ำมือสองจาก[[สวีเดน]] ชั้น ซยอร์เเมน จำนวน 4 ลำ เรือทั้ง 4 ลำ เข้ารับการซ่อมใหญ่เเละปรับปรุงเพื่อให้สามารถปฏิบัติการในเขตร้อนได้
[[ไฟล์:Sing-sub.jpg|thumbnail|250px|พิธีส่งมอบเรือดำน้ำให้กับกองทัพเรือสิงคโปร์]]
 
[[มาเลเซีย]]เป็นอีกประเทศที่เป็นส่วนหนึ่งของ[[ช่องเเคบมะละกา]]ทางชายฝั่งตะวันตก เเละ เป็นอีกประเทศหนึ่งที่อ้างการมีผลประโยชน์ใน[[หมู่เกาะ สเเปรทลีย์]] ซึ่งอยู่ห่างจาก[[รัฐซาบาห์]]ทางตะวันตกเฉียงเหนือ 300 [[ไมล์]] โดยรวมเเล้วเมื่อพิจารณาจากการมีชายฝั่งทะเลยาวเหยียด นับตั้งเเต่ชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจังหวัดสตูลของไทย เรื่อยมาจนถึงสิงคโปร์ เเล้ววกกลับขึ้นไปทางเหนือจนถึงชายเเดนส่วนที่ติดกับจังหวัดนราธิวาส รวมทั้งชายฝั่งของ[[รัฐซาราวัค]] จนถึงหมู่เกาะสเเปรทลีย์ สั่งต่อเรือดำน้ำชั้น สคอเปเน่ จำนวน 2 ลำโครงการ ซึ่งลำเเรกจะต่อที่อู่ ดีซีเอ็น ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] เเละลำที่สองจะต่อที่อู่เรือของไอซาร์ใน[[ประเทศสเปน]]
[[ไฟล์:E2932d9062ca41ffde4f3ca284683da6.jpg|thumbnail|250px|เรือดำน้ำชั้น สคอร์เปเน่ ของกองทัพเรือมาเลเซีย]]
 
บรรทัด 35:
*[[เรือหลวงพลายชุมพล|ร.ล.พลายชุมพล]]
 
ได้ปฏิบัติการในอ่าวไทยหลายครั้งตั้งเเต่[[เเต่สงครามอินโดจีน]]ทั้งการรับเเละส่งสายลับพลพรรคขบวนการ[[เสรีไทย]] เเละการโจมตีเรือของฝ่าย[[อักษะ]]ด้วยตอร์ปิโดซึ่งได้ปลดประจำการเเล้วทุกลำในปี พ.ศ.2494 เนื่องด้วยอายุการใช้งาน ความปลอดภัยเเละเทคโนโลยีการดำน้ำ ปัจจุบันเเม้จะไม่มีอาณาเขตติดต่อกับ[[ช่องเเคบมะละกา]] เเต่ช่องเเคบนี้ก็มีความสำคัญต่อ[[ประเทศไทย]]มากพอๆ กับ 3 ประเทศที่กล่าวถึง [[อ่าวไทย]]เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญที่สุดของการเดินเรือเข้า-ออก เรือดำน้ำจะสามารถปฏิบัติการในอ่าวไทยได้ การค้นหาเรือดำน้ำในเขตน้ำตื้นเป็นสิ่งที่ยากเย็นพอสมควร โดยเฉพาะกับเรือ[[เครื่องยนตร์ดีเซล]] ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจับต่างๆ ทั้งชั้นความเค็มเเละชั้นความร้อนหรืออุณหภูมิที่มีผลต่อการเดินทางของเสียง ราชนาวีไทยเคยมีโครงการที่จะจัดหาเรือดำน้ำโดยได้รับข้อเสนอที่น่าสนใจจากหลายๆประเทศทั้ง[[เยอรมัน]] [[สวีเดน]] [[ฝรั่งเศส]]เเละ[[รัสซีย]] เเต่โครงการนี้ไม่เคยประสบความสำเร็จ เนื่องจากติดขัดด้วยปัญหาต่างๆทั้งด้านงบประมาณเเละ ปัญหาทางการเมือง
[[ไฟล์:Thai sub.jpg|thumbnail|250px|ร.ล.สินสมุทรเคยใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เเละ สงครามอินโดจีน]]
[[ไฟล์:Thai2sub.jpg|250px]]