ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kikkook1 (คุย | ส่วนร่วม)
Raindropf (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{สารบัญขวา}}
{{รอการตรวจสอบ}}
#'''น้ำมันหล่อลื่น''' (Lubricant Oil)
'''น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์''' (mineral/lubricating oil) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า '''น้ำมันหล่อลื่น''' หรือ '''น้ำมันเครื่อง''' ประกอบไปด้วย 2 ส่วนที่สำคัญคือ [[น้ำมัน]]พื้นฐาน และสารเพิ่มคุณภาพ น้ำมันเครื่องมีหน้าที่ลด[[แรงเสียดทาน]]ของ[[วัตถุ]]ชิ้นที่เสียดสีกัน ระบาย[[ความร้อน]]ของ[[เครื่องยนต์]] ทำความสะอาดภายในเครื่องยนต์ ป้องกัน[[การกัดกร่อน]]จาก[[สนิม]]และ[[กรด]]ต่างๆ และป้องกันกำลังอัดของเครื่องยนต์รั่วไหล เป็นต้น
ยานยนต์หรืออุตสาหกรรมทั่วไปต้องมีการหล่อลื่น เพราะในชิ้นส่วนเหล่านี้ต้องเคลื่อนไหวและ
เกิดการเสียดสีกัน อาจจะเกิดการสึกหรอและอุณหภูมิที่สูงขึ้นที่เกิดจากแรงเสียดทาน
 
==ส่วนประกอบของน้ำมันหล่อลื่น==
== การผลิต ==
น้ำมันหล่อลื่น ประกอบด้วย น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน (Base Oil) กับ สารเพิ่้มคุณภาพ (Additive)
แหล่งที่มาของน้ำมันพื้นฐานที่ใช้ทำมันเครื่องมี 3 แหล่งคือ
ในการผลิตน้ำมันหล่อลื่นสำเร็จรูปจากปิโตรเลียม แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ
# น้ำมันที่สกัดจาก[[พืช]]
ขั้นแรกเป็น [[การผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน]] ซึ่งขั้นตอนที่ 2 คือ [[การผลิตน้ำมันหล่อลื่นสำเร็จรูป]]
# น้ำมันที่สกัดจาก[[น้ำมันดิบ]]
เกรดความหนืดต่างๆด้วยกันเอง เพื่อให้ได้ความหนืดที่ต้องการแล้วเติมสารคุณภาพ เพื่อให้ได้คุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการใช้งาน
# น้ำมันสังเคราะห์ น้ำมันชนิดนี้จะให้คุณภาพของน้ำมันเครื่องที่ดีที่สุด
#น้ำมันหล่อลื่น
==การผลิตน้ำมันหล่อลื่นให้เหมาะกับการใช้งาน==
Lube Oil , Lubricating Oil
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากการกลั่น น้ำมันดิบ มีช่วงจุดเดือดระหว่าง 380-500 ? C และเติม แอดดิทีฟต่างๆ ในปริมาณเล็กน้อยเพื่อปรับปรุงสมบัติให้เหมาะสมสำหรับใช้งานหล่อลื่นแต่ละ อย่าง เช่น ความหนืดโดยเยื่อบางๆ หรือเนื้อครีม ของน้ำมันหล่อลื่นจะเคลือบอยู่ระหว่างผิวของชิ้นส่วน 2 อย่าง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชิ้นส่วนโลหะที่มีการเคลื่อนไหวผ่านไปมา ทำหน้าที่ป้องกันการเสียดสีกันโดยตรง ขณะเดียวกันจะช่วยทำความสะอาด และระบายความร้อน โดยช่วยระบายความร้อนจากเครื่องยนต์ได้ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ แอดดิทีฟอื่นๆ ที่มักผสมลงไปด้วย ได้แก่ สารป้องกันสนิม และการกัดกร่อน เป็นต้น
* [[การผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน]]
* [[การผลิตน้ำมันหล่อลื่นสำเร็จรูป]]
 
== มาตรฐานประเภทของน้ำมันเครื่อง หล่อลื่น==
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
# '''มาตรฐานของ[[สมาคมวิศวกรรมยานยนต์]]''' (Society of Automotive Engineer : SAE) ใช้ระบุ[[ความหนืด]] (ความข้นใส) ของน้ำมันเครื่อง ค่ายิ่งมากก็ยิ่งมีความหนืดมาก โดยแบ่งน้ำมันเครื่องออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
* น้ำมันหล่อลื่นสำหรับยานยนต์ ( AUTOMOTIVE LUBES )
#* '''เกรดเดียว''' (monograde) คือน้ำมันเครื่องที่มีค่าความหนืดค่าเดียว เช่น SAE 40 หมายความว่า ณ อุณหภูมิ 100 [[องศาเซลเซียส]] น้ำมันจะมีค่าความหนืดอยู่ที่ เบอร์ 40
* น้ำมันหล่อลื่นสำหรับอุตสาหากรรม ( INDUSTRIAL LUBES )
#* '''เกรดรวม''' (multigrade) คือน้ำมันเครื่องที่มีค่าความหนืด 2 ค่า เช่น SAE 20W-50 หมายความว่า ในอุณหภูมิ -25 องศาเซลเซียส น้ำมันจะมีค่าความหนืดอยู่ที่ เบอร์ 20 แต่เมื่ออุณหภูมิสูงถึง 100 องศาเซลเซียส จะเปลี่ยนค่าความหนืดเป็น เบอร์ 50
#* อักษร "W" ใช้เป็นตัวบ่งบอกว่าค่าความหนืดนี้เป็น'''เกรดฤดูหนาว''' (วัดที่ -25 องศาเซลเซียส) หากไม่มีจะเป็น'''เกรดฤดูร้อน''' (วัดที่ 100 องศาเซลเซียส)
# '''มาตรฐานของ[[สถาบันปิโตรเลียมอเมริกัน]]''' (The American Petroleum Institute : API) ใช้ระบุประเภทของเครื่องยนต์ และสมรรถนะในการปกป้องชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ สำหรับเครื่องยนต์[[เบนซิน]]ใช้อักษร "S" (spark ignition) เช่น SA SC SD SE SF SG SH SJ ส่วนเครื่องยนต์[[ดีเซล]]ใช้อักษร "C" (compress ignition) เช่น CD CB CF4 บางครั้งเราอาจเห็นทั้ง "S" และ "C" มาด้วยกัน เช่น SG/CH4 หมายถึง น้ำมันเครื่องนี้เหมาะกับเครื่องยนต์เบนซิน แต่ก็สามารถใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลได้ในระยะสั้น หรือ CH4/SG ก็จะกลับกันกับกรณีข้างต้น
 
==หน้าที่ของน้ำมันหล่อลื่น==
== อ้างอิง ==
* ลดเแรงสียดทานและการสึกหรอระหว่างผิวสัมผัสที่เคลื่อนไหว
* http://www.nice.ac.th/data/knowledge1.ppt
* ช่วยในการระบายความร้อน
 
* เคลือบช่องว่างระหว่างผิวสัมผัส
[[หมวดหมู่:น้ำมัน]]
* ทำความสะอาดเขม่า เศษโลหะที่เกิดจากการสึกหรอ
[[หมวดหมู่:เครื่องยนต์]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[ar:زيت المحرك]]
[[bg:Стабилност на маслото]]
[[de:Schmieröl]]
[[en:Motor oil]]
[[et:Mootoriõli]]
[[fa:روغن موتور]]
[[fi:Moottoriöljy]]
[[fr:Huile moteur]]
[[it:Olio (lubrificante)]]
[[ja:エンジンオイル]]
[[ka:ძრავას ზეთი]]
[[nl:Smeerolie]]
[[pl:Olej silnikowy]]
[[ru:Моторные масла]]
[[sk:Motorový olej]]
[[sv:Motorolja]]
[[tr:Motor yağı]]