ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วีเอชเอฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดขนานใหญ่
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''วีเอชเอฟ (VHF)''' เป็นคลื่นความถี่สูงยิ่ง (Very-High Frequency) สามารถใช้ในการสื่อสารของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และสามารถกำหนดคลื่นและช่องแบบส่งโดยตายตัว เลยทีเดียว
 
'''วีเอชเอฟ''' ({{lang-en|VHF}})''' เป็น[[อักษรย่อ|ชื่อย่อ]]ของ[[คลื่นความถี่]]สูงยิ่ง ({{lang-en|Very-High Frequency}}) สามารถซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากกว่าชื่อเต็ม มักใช้ใน[[การสื่อสาร]]ของ[[วิทยุกระจายเสียง]] และ[[วิทยุโทรทัศน์]] และโดยสามารถกำหนดคลื่น และช่องแบบสัญญาณที่ส่งโดยตายตัว เลยทีเดียวได้อย่างแน่นอนประจำที่
== วีเอชเอฟในวิทยุกระจายเสียง ==
วิทยุระบบวีเอชเอฟในความจริงแล้ว ถูกบรรจุอยู่ในความถี่ส่งของเสียงในวิทยุโทรทัศน์ ที่เป็นความถี่เดียวกัน โดยวิทยุกระจายเสียงในระบบนี้ มีการเรียกชื่อย่อภาษาอังกฤษว่า เอฟเอ็ม สามารถใช้ในคู่ขนานกับเครื่องวิทยุในระบบเอ็มเอฟ หมายถึงระบบ เอเอ็ม การส่งสัญญาณวิทยุกระจายเสียง
จะสามารถส่งกระจายเสียงในความถี่ 75.0 จนถึง 108.0 MHz กำลังส่ง 1-3KW
 
=== ชื่อวิทยุส่งแบบตายตัวของวีเอชเอฟกระจายเสียง ===
การส่งกระจายเสียงวิทยุในระบบวีเอชเอฟ ใช้ความถี่ส่งเดียวกับช่องความถี่ซึ่งใช้ส่งกระจายเสียงสำหรับวิทยุโทรทัศน์ โดยเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า ''เอฟเอ็ม'' ({{lang-en|FM}}) ซึ่งย่อมาจาก Frequency Modulation สามารถใช้คู่ขนานกับเครื่องรับวิทยุ ในระบบเอ็มเอฟ (เอเอ็ม) และส่งกระจายเสียงในช่วงความถี่ระหว่าง 75.0 จนถึง 108.0 เมกะเฮิร์ตซ์ ({{lang-en|Mega Hertz}} ชื่อย่อ: MHz) และช่วงกำลังส่งระหว่าง 1-3 กิโลวัตต์ ({{lang-en|Kilo Watt}} ชื่อย่อ: KW)
'''FM''' เอฟเอ็ม มาจาก '''Frequency Mochulation'''
 
== วีเอชเอฟในวิทยุโทรทัศน์ ==
การแพร่ภาพออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ในระบบวีเอชเอฟ สามารถกำหนดช่องส่งสัญญาณแบบตายตัวได้ ตั้งแต่ในช่วงระหว่างช่องที่ 1 ถึงช่องที่ 12 เป็นต้น (บางประเทศสามารถส่งช่องตายตัวได้ตั้งแต่ช่องที่ 1 ถึงช่องที่ 13) โดยมีความถี่ส่งของภาพ และความถี่ส่งของเสียงไว้ส่งเสียงอยู่ที่ระหว่าง 30.0 ถึง -300.0 MHz เมกะเฮิร์ตซ์ ส่วนกำลังส่งของภาพ และกำลังส่งของเสียงไว้ส่งเสียง อยู่ที่ระว่าง 1-5 หรือ 6 กิโลวัตต์ สามารถกระจายคลื่นในทางตรงได้ในช่วงระหว่าง 10-100 เมตร
1 ถึง 5-6 KW โดยโทรทัศน์ระบบวีเอชเอฟจะสามารถส่งสัญญาณภาคพื้นดินในแบบ อนาล็อก เท่านั้น และใช้คู่ขนานกับระบบยูเอชเอฟ ได้
แต่ จะไม่สามารถส่งสัญญาณภาคพื้นดินในระบบ ดิจิตอล ได้ในอนาคต
 
โดยในบางโอกาส จะสามารถกระจายสัญญาณไปถึงอาคารสูง ภูเขา ชุมชน และพื้นดินภาคปกติได้ และยังใช้คู่ขนานไปกับคลื่นความถี่ระบบยูเอชเอฟได้ แต่สามารถส่งสัญญาณภาคพื้นดินในระบบ[[อนาล็อก]]เท่านั้น โดยไม่รองรับระบบ[[ดิจิตอล]] ซึ่งในการส่งสัญญาณอาจถูกหักเหหรือบดบัง ก่อนจะไปถึงที่หมายปลายทาง และกำลังส่งไม่กว้างเท่ากับระบบยูเอชเอฟ
== วีเอชเอฟในการสื่อสาร ==
=== โทรทัศน์ภาคพื้นดิน ===
ระบบวีเอชเอฟ สามารถกระจายคลื่นทางตรงได้ตั้งแต่ 10 ถึง 100 เมตร โดยบางช่วงจะสามารถส่งกระจายสัญญาณถึงอาคารสูง ภูเขา ชุมชน และพื้นดินภาคปกติได้ในบางโอกาส แต่ปัญหาคือการส่งไปถึงที่หมายปลายทางนั้น จะถูกหักเห บดบัง และไม่กว้างเหมือนยูเอชเอฟ ที่ได้เปรียบกว่า
 
=== อย่างการสื่อสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ===
อย่างอื่นคือคลื่นความถี่ระบบวีเอชเอฟ สามารถใช้ส่งสัญญาณกับในระบบ[[วิทยุการบิน]] [[วิทยุสมัครเล่น]] การส่งเครื่องเรดาร์ภาคพื้นดิน [[การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก]] และส่งแบบแนวตรง โดยไม่บดบัง จากพื้นดินสู่อากาศ และ จากอากาศสู่อากาศได้ (Line-of-Sight) ได้
 
== การใช้ระบบในประเทศไทย ==
การใช้คลื่นความถี่ระบบวีเอชเอฟในประเทศไทย แบ่งเป็น ''การส่งวิทยุกระจายเสียง'' ด้วยระบบเอฟเอ็ม สเตอริโอ มัลติเพล็กซ์ ในช่วงความถี่ระหว่าง 87.5-108.0 เมกะเฮิร์ตซ์ และ ''การส่งวิทยุโทรทัศน์'' ในช่วงความถี่ระหว่างช่องสัญญาณที่ 2-12 รวมทั้งสิ้น 11 ช่อง ออกอากาศโดยใช้กำลังส่งภาพระหว่าง 30-300 กิโลวัตต์, กำลังส่งเสียงระหว่าง 1-10 กิโลวัตต์, ความถี่ภาพระหว่าง 40-250 เมกะเฮิร์ตซ์ และ ความถี่เสียงระหว่าง 40-260 เมกะเฮิร์ตซ์
=== การส่งวิทยุตายตัว ===
* ระบบ FM เอฟเอ็ม สเตอริโอ มัลติแพล็ซ ความถี่ 87.5 MHz ถึง 108.0 MHz
 
=== ความเป็นมา ===
=== การส่งโทรทัศน์ตายตัว ===
การส่งกระจายเสียงวิทยุในระบบเอฟเอ็มครั้งแรก ดำเนินการโดย''[[สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย]]'' สังกัด[[กรมประชาสัมพันธ์]]{{อ้างอิง}} เมื่อปี [[พ.ศ. 2484]]{{อ้างอิง}} ส่วนการแพร่ภาพวิทยุโทรทัศน์ในระบบวีเอชเอฟครั้งแรก ดำเนินการโดย''[[สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4]]'' ของ[[บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2498]] โดยออกอากาศทางช่อง 4 ระบบขาวดำ และการแพร่ภาพวิทยุโทรทัศน์สี ในระบบวีเอชเอฟครั้งแรก ดำเนินการโดย''[[สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]]'' เมื่อปี [[พ.ศ. 2510]] โดยออกอากาศทางช่อง 7 ในย่านความถี่ที่ 3
* ช่องที่ 2-12 (จำนวน 11 ช่อง) ออกอากาศโดย กำลังส่งภาพ 30 - 300 KW กำลังส่งเสียง 1-10 KW และ ความถี่ภาพ 40 - 250 MHz ความถี่เสียง 40 - 260 MHz
 
== ดูเพิ่ม ==
=== กิจการที่เกี่ยวข้องกับระบบ ===
* [[ยูเอชเอฟ]]
ในสถานีวิทยุกระจายเสียงของประเทศไทย มีจำนวนประมาณ คลื่นความถี่ และในสถานีวิทยุโทรทัศน์ของประเทศไทย มีจำนวนประมาณ คลื่นความถี่
แต่แม่ข่ายที่กรุงเทพมหานคร ส่งที่ ช่องสัญญาณ ซึ่งเดิมมี ช่องสัญญาณ
 
{{โครงสื่อสาร}}
โดยวิทยุระบบเอฟ เอ็ม มีขึ้นครั้งแรกโดยการกระจายเสียงของ '''[[สถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท.]]''' ในปี [[พ.ศ. 2508]] โดยส่งที่ความถี่ FM 95.0 MHz เป็นคลื่นแรก และสำหรับโทรทัศน์ระบบวีเอชเอฟ มีขึ้นครั้งแรกคือ การออกอากาศของ '''[[สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4]]''' ในปี [[พ.ศ. 2498]] ซึ่งสังกัด [[บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด]] ในขณะนั้น โดยออกอากาศทางช่อง 4 ระบบขาวดำ
 
แต่โทรทัศน์สีในระบบวีเอชเอฟ มีอยู่ครั้งแรกคือ '''[[สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]]''' ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ [[26 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2510]] โดยออกอากาศ ย่านความถี่ที่ 3 ทางช่อง 7 ระบบสี
[[ar:تردد عالي جدا]]
[[ca:VHF]]
[[cs:Velmi krátké vlny]]
[[da:VHF]]
[[de:Ultrakurzwelle]]
[[en:Very high frequency]]
[[es:VHF]]
[[fr:Très haute fréquence]]
[[ko:초단파]]
[[hi:अत्योच्चावृत्ति (VHF)]]
[[id:Frekuensi sangat tinggi]]
[[it:Very high frequency]]
[[ms:Frekuensi sangat tinggi]]
[[nl:Ultrakorte golf]]
[[ja:超短波]]
[[no:Veldig høy frekvens]]
[[pl:UKF]]
[[pt:Very High Frequency]]
[[ksh:Ulltra Koot Wëll]]
[[ru:Ультракороткие волны]]
[[fi:Very high frequency]]
[[sv:VHF]]
[[ta:அதி உயர் அதிர்வெண்]]
[[tr:VHF]]
[[zh:甚高頻]]