ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:การตรวจสอบเปลี่ยนแปลงล่าสุด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เว็บย่อวิกิ|[[WP:RCP]]}}
'''การตรวจสอบบทความ''' ในวิกิพีเดีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[พิเศษ:Recentchanges|หน้าปรับปรุงล่าสุด]] ดูเพิ่มเติมสำหรับรูปแบบการก่อกวนที่ [[วิกิพีเดีย:การก่อกวน]] และการตรวจสอบเฉพาะทางที่ [[วิกิพีเดีย:หน่วยเก็บกวาดเฉพาะกิจ]]
 
== ขั้นตอนการตรวจสอบบทความ ==
 
=== ขั้นตอน ===
# พิจารณาว่าหน้านั้นเหมาะสมในรูปแบบสารานุกรมหรือไม่ ดูว่าบทความควรถูกลบออกหรือว่าควรปรับปรุง
# บทความที่ไม่ได้จัดรูปแบบ ส่วนใหญ่แล้วเกิดจากการคัดลอกจากแหล่งอื่นซึ่ง[[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์|อาจละเมิดลิขสิทธิ์]]
# ถ้าต้องการตรวจสอบข้อความล่าสุดที่เข้ามาในวิกิพีเดีย ดูที่ [[พิเศษ:Recentchanges|ปรับปรุงล่าสุด]] (หรือเลือกจากเมนูด้านซ้ายมือ) และถ้าต้องการตรวจดูเฉพาะ ผู้เขียนที่ไม่ประสงค์ออกนามให้เลือก "ซ่อนผู้ใช้ที่ล็อกอิน"
 
=== ข้อแนะนำสำหรับผู้ตรวจสอบ ===
* อย่ากัดผู้ใช้ใหม่ - ผู้ใช้ใหม่อาจจะมีข้อผิดพลาดบ่อย ให้คำแนะนำและอธิบายรูปแบบในการเขียนบทความ
* อย่าข้ามหัวผู้อื่น - ระวังถ้าผู้อื่นกำลังแก้ไขงานอยู่ รอจนกว่าแน่ใจว่า ผู้ใช้นั้นได้เขียนบทความเสร็จแล้ว ยกเว้นเสียแต่ว่าผู้นั้นมีเจตนาก่อกวน
เส้น 13 ⟶ 15:
== ป้ายที่ใช้ในการตรวจสอบ ==
 
=== ขั้นที่หนึ่ง : เหมาะสมกับการเป็นสารานุกรม ===
 
ป้าย ในกลุ่มนี้ จะติดไว้ส่วนบนของบทความเพื่อบอกให้ผู้อ่านรู้ ยกเว้นป้ายแจ้งละเมิดลิขสิทธิ์จะติดไว้เต็มหน้าและนำข้อความเดิมออกหมด ป้ายประเภทนี้จะเป็นการเตือนว่าบทความนั้นควรจะได้รับการปรับปรุงอย่างเร่งด่วนตามที่ได้มีผู้แจ้งเอาไว้ ก่อนที่จะได้พัฒนาบทความให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
 
{|class="wikitable"
เส้น 30 ⟶ 33:
|}
 
=== ขั้นที่สอง : ปรับปรุงบทความให้ได้ตามมาตรฐาน ===
เมื่อตรวจสอบผ่านจากป้ายด้านบนแล้ว บทความควรต้องปรับปรุง ป้าย ในกลุ่มนี้ จะติดไว้ส่วนบนของบทความเพื่อบอกให้ผู้อ่านรู้ หรือติดไว้ส่วนล่างเพื่อให้ผู้เขียนรู้ นอกจากติดป้ายนี้แล้วผู้ติดป้ายสามารถร่วมแก้ไขได้ทันที ซึ่งแนะนำเป็นอย่างยิ่งว่าถ้าการแก้ไขนั้นเป็นการแก้ไขเล็กน้อย ให้ทำการแก้ไขแทนที่ติดป้าย
 
เส้น 67 ⟶ 70:
|}
 
=== ขั้นที่สาม : พัฒนาคุณภาพบทความและรูปแบบ ===
สำหรับบทความที่เนื้อหาและรูปแบบเหมาะสมกับวิกิพีเดียแล้ว อาจจะติดป้ายเหล่านี้เพิ่มเติมเพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบและแก้ไขในภายหลัง รวมถึงบอกผู้เขียนคนอื่นว่าบทความนี้ยังต้องการส่วนใดเพิ่มเติม