ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พัลซาร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Pulsar schematic.svg|thumb|200px|แผนภาพของพัลซาร์ ทรงกลมตรงกลางหมายถึงดาวนิวตรอน เส้นโค้งรอบๆ คือเส้นสนามแม่เหล็ก ส่วนรูปกรวยที่พุ่งออกมาคือลำการแผ่รังสี]]
{{สั้นมาก}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
'''พัลซาร์''' ({{lang-en|Pulsar}}) เป็นดาวขนาดเล็กที่ส่งพลังงานในรูป[[แม่เหล็กไฟฟ้า]]ออกมาเป็นจังหวะอย่างรวดเร็ว คือ[[ดาวนิวตรอน]]ที่หมุนรรอบตัวเองและแผ่รังสี[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]ออกมา คาบการหมุนที่สังเกตได้อยู่ระหว่าง 1.4 มิลลิวินาที ถึง 8.5 วินาที<ref>Young, M.D.; Manchester, R.N.; Johnston, S. "[http://www.nature.com/nature/journal/v400/n6747/abs/400848a0.html A Radio Pulsar with an 8.5-Second Period that Challenges Emission Models]." ''Nature,'' Volume 400, 26 August 1999 (pages 848-849).</ref> เราสามารถสังเกตเห็นการแผ่รังสีได้จากลำรังสีที่ชี้มาทางโลกเท่านั้น ลักษณะปรากฏการณ์เช่นนี้เรียกว่า ปรากฏการณ์ประภาคาร (lighthouse effect) และการที่สังเกตเห็นรังสีเป็นช่วงๆ (pulse) นี้เองเป็นที่มาของชื่อพัลซาร์ พัลซาร์บางแห่งมีดาวเคราะห์โคจรอยู่รอบๆ เช่น ดาว [[PSR B1257+12]] เวอร์เนอร์ เบ็คเกอร์ แห่งสถาบันมักซ์ พลังค์เพื่อการศึกษาฟิสิกส์นอกโลก (Max Planck Institute for Extraterrestrial Physics) ได้กล่าวเอาไว้ในปี 2549 ว่า "ทฤษฎีว่าด้วยเหตุที่พัลซาร์แผ่รังสีออกมายังคงเป็นสิ่งลึกลับ แม้จะมีการเฝ้าศึกษามาเป็นเวลากว่า 40 ปีแล้ว"<ref>'''Press Release''': [http://www.esa.int/esaCP/SEMB6IBUQPE_index_0.html Old Pulsars Still Have New Tricks to Teach Us]. European Space Agency, 26 July 2006.</ref>
'''พัลซาร์''' ({{lang-en|Pulsar}}) เป็นดาวขนาดเล็กที่ส่งพลังงานในรูป[[แม่เหล็กไฟฟ้า]]ออกมาเป็นจังหวะอย่างรวดเร็ว คล้ายกับดาวกระพริบทุก 1/30 วินาที ทุกๆ 4 นาที
 
== ดูเพิ่ม ==
พัลซาร์, ควอซาร์ คือแก่นดาราจักรกัมมันตะ ที่แผ่พลังงานสูงยิ่งยวด
{{Commonscat|Pulsars}}
*[[ดาวนิวตรอน]]
*[[พัลซาร์วิทยุ]]
*[[พัลซาร์รังสีเอกซ์]]
*[[Magnetar]]
*[[Millisecond pulsar]]
*[[ดาวเคราะห์พัลซาร์]]
*[[หลุมดำ]]
 
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://www.einstein-online.info/de/images/einsteiger/pulsar.gif ภาพเคลื่อนไหวของพัลซาร์] ''Einstein.com,'' 17 มกราคม 2551.
*"[http://www.bbc.co.uk/dna/h2g2/A882218 การค้นพบพัลซาร์]." ''BBC,'' 23 ธันวาคม 2545.
*"[http://www.aip.org/history/mod/ A Pulsar Discovery: First Optical Pulsar]." ''Moments of Discovery,'' American Institute of Physics, 2007 (มีเสียงประกอบพร้อมคำแนะนำ).
 
{{ดาวฤกษ์}}