ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำนานแทงข้างหลัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
G(x) (คุย | ส่วนร่วม)
→‎จุดกำเนิด: Verify Finished For This Paragraph
บรรทัด 55:
== จุดกำเนิด ==
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1973-076-58, Reichskanzler Cuno und Reichspräsident Ebert crop Ebert only.jpg|thumb|right|200px|มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับ[[ฟรีดริช อีเบิร์ต]]ว่า ในขณะที่เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีชั่วคราวแห่ง[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ว่า เขาได้กล่าวกับทหารผ่านศึกในปี [[ค.ศ. 1919]] ว่า ''"เหล่าศัตรูไม่อาจเอาชนะพวกท่านได้หรอก"'']]
 
ในช่วงปลายสงคราม เยอรมนีอยู่ภายใต้การปกครองแบบ[[เผด็จการทหาร]]อย่างแท้จริง ภายใต้กองบัญชาการทหารสูงสุดของเยอรมนี ({{lang-de|Oberste Heeresleitung}}) โดยมีจอมพล [[พอล ฟอน ฮินเดนเบิร์ก]] ในฐานะผู้บัญชาการทหารบกและผู้ให้คำแนะนำแก่[[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|สมเด็จพระจักรพรรดิไกเซอร์]] หลังจากที่การรุกในแนวรบด้านตะวันตกประสบความล้มเหลวจนเหตุการณ์ถึงขั้นหายนะ เพื่อตอบสนองต่อปัญหาดังกล่าว กองบัญชาการทหารสูงสุดของเยอรมนีจึงได้จัดการเปลี่ยนรัฐบาลพลเรือนอย่างรวดเร็ว โดยนายพลลูเดนดรอฟ เสนาธิการทหารของเยอรมนี กล่าวไว้ว่า:
บรรทัด 77:
 
แนวคิดการลอบแทงข้างหลังนั้นเป็นภาพพจน์ที่ใช้ในการโฆษณาชวนเชื่อที่ผลิตโดยฝ่ายขวา และพรรคการเมืองหัวอนุรักษ์นิยมที่จัดตั้งขึ้นในช่วงแรก ๆ ของ[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ซึ่งรวมไปถึง[[พรรคนาซี]]ของฮิตเลอร์ สำหรับเขาแล้วรูปแบบการจำลองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งมีความสำคัญส่วนตัวสำหรับเขามาก เขาได้เรียนรู้เกี่ยวกับความพ่ายแพ้ของเยอรมนีในระหว่างที่ถูกปฏิบัติโดยที่มองไม่เห็นชั่วคราวหลังจากที่เกิดกรณีแก๊สระเบิดในการรบแนวหน้า ในหนังสือ ''การต่อสู้ของข้าพเจ้า'' ของเขา เขาได้อธิบายถึงวิสัยทัศน์ของเขาที่ทำให้เขาเข้าสู่วงการเมือง ตลอดอาชีพของเขาเขามักกล่าวโทษเหตุการณ์ "อาชญากรรมในเดือนพฤศจิกายน [[ค.ศ. 1918]]" ที่มีการลอบแทงทหารบกเยอรมันจากด้านหลังเสมอ
 
แม้ว่าจะมีเรื่องเล่าของประธานาธิบดีชั่วคราวแห่ง[[สาธารณรัฐไวมาร์]][[ฟรีดริช อีเบิร์ต]] ที่่กล่าวสดุดีทหารผ่านศึกในปี [[ค.ศ. 1919]] ว่า 'เหล่าศัตรูไม่อาจเอาชนะพวกท่านได้หรอก" (''Kein Feind hat euch überwunden!'') และการกล่าวสดุดีในวันที่ [[10 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1918]] ว่า "พวกเขากลับมาจากสมรภูมิโดยไร้ซึ่งความพ่ายแพ้" (''Sie sind vom Schlachtfeld unbesiegt zurückgekehrt'') (ภายหลังคำพูดที่กล่าวว่าพวกเขากลับมาโดยไร้ความพ่ายแพ้นั้นได้ถูกนำไปเป็นสโลแกนกึ่งทางการของหน่วยทหารแห่งชาติ โดยย่อให้สั้นลงจนเหลือ ''Im Felde unbesiegt'') ก็ตาม อีเบิร์ตเพียงแต่มีเจตนาพูดเพื่อเป็นขวัญกำลังใจและโน้มน้าวใจทหารเยรมันเท่านั้น
 
== อรรถอธิบายในสหรัฐอเมริกา ==