ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธินอกศาสนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ใช้ปีคศ|width=280px}} [[Image:Mjolnir metallic 2.PNG|thumb|280px |ค้อน Mjölnir ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญ...
 
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[Image:Mjolnir metallic 2.PNG|thumb|280px |ค้อน Mjölnir ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของ[[ลัทธิเพกันใหม่เยอรมัน]]]]
'''ลัทธิเพกัน''' ({{lang-en|'''Paganism'''}}) มาจาก[[ภาษาละติน|ละติน]] “paganus” ที่แปลว่า “ผู้ที่อยู่ในชนบท”<ref>http://encarta.msn.com/dictionary_/pagan.html</ref> เป็นที่มีความหมายกว้างที่ใช้ในการบรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนที่จะมีการนับถือ[[คริสต์ศาสนา]]ในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็จะหมายถึงผู้ที่มีธรรมเนียมการนับถือเทพหลายองค์ ([[พหุเทวนิยม]] (polytheistic)) หรือ [[ศาสนาพื้นบ้าน]] (folk religion) โดยทั่วไปในโลกจากมุมมองของผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนาในโลกตะวันตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของ<ref name="newadvent.org">[http://www.newadvent.org/cathen/11388a.htm Catholic Encyclopaedia (1917 edition) on paganism] </ref>ผู้ที่ปฏิบัติตาม[[ลัทธิเจตนิยม]] (spiritualism), [[ลัทธิวิญญาณนิยม]] (animism) หรือ [[เชมัน|ลัทธิชามันเชมัน]] (shamanism) เช่นใน[[ศาสนาพื้นบ้าน]] (folk religion), ในลัทธิการนับถือเทพหลายองค์พร้อมกัน หรือ ใน[[ลัทธิเพกันใหม่]]
 
คำว่า “ลัทธิเพกัน” ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยู่นอกกลุ่ม[[ศาสนาเอบราฮัม]]ของผู้นับถือ[[ลัทธิเอกเทวนิยม]] (monotheism) ที่รวมทั้ง[[ศาสนายูดาย]], [[ศาสนาคริสต์]] และ [[ ศาสนาอิสลาม]]<ref name="newadvent.org"/> กลุ่มที่ว่านี้รวมทั้ง[[ศาสนาตะวันออก]] (Eastern religions), [[ลัทธิเทวนิยมของชาวอเมริกันอินเดียน]] (Native American mythology) และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปที่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายที่แคบลง “ลัทธิเพกัน” จะไม่รวม[[ศาสนาของโลก]] (world religions) ที่เป็นศาสนาที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างเป็นทางการแต่จะจำกัดอยู่ในศาสนาท้องถิ่นที่ยังไม่ได้จัดอยู่ในระบบศาสนาของโลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาด[[สาวก]] (proselytism) และการความนิยมในการนับถือ[[ปรัมปราวิทยา|ตำนานลึกลับ]]ต่างๆ (mythology)<ref>"And it Harms No-one", A Pagan Manifesto, Janet Farrar & Gavin Bone, 1998.[http://www.wicca.utvinternet.com/manifest.htm]</ref>
 
คำว่า “เพกัน” เป็นคำที่ผู้นับถือคริสต์ศาสนานำมาใช้สำหรับ “[[เจนไทล์]]” (gentile) ของศาสนายูดายหรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยามในหมู่ผู้นับถือ[[ลัทธิเอกเทวนิยม]]ของโลกตะวันตก<ref>"Pagan", Encyclopedia Britannica 11th Edition, 1911, retrieved 22 May 2007.[http://encyclopedia.jrank.org/ORC_PAI/PAGAN_Lat_paganus_of_or_belongi.html]</ref> เทียบเท่ากับการใช้คำว่า “heathen” (ฮีทเธน) หรือ “[[อินฟิเดล]]” (infidel) หรือ “[[คาแฟร์]]” (kafir หรือ كافر) และ “[[มัสชริค]]” (mushrik) ในการเรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้[[นักชาติพันธุ์วิทยา]]จึงเลี่ยงใช้คำว่า “ลัทธิเพกัน”--เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน--ในการกล่าวถึงความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่าเช่น[[ลัทธิเจตนิยม]], [[ลัทธิวิญญาณนิยม]], [[ลัทธิชามัน]] หรือ [[ลัทธิสรรพเทวนิยม]] (pantheism) แต่ก็มีผู้วิจารณ์{{Who|date=June 2009}}การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป็นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุมมองหนึ่งและมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว
 
ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า “เพกัน” หรือ “ลัทธิเพกัน” ก็กลายมาเป็นที่นิยมใช้กันสำหรับผู้นับถือ[[ลัทธิเพกันใหม่]]<ref>[http://www.bbc.co.uk/dna/h2g2/classic/A1032166 "A Basic Introduction to Paganism"], BBC, retrieved 19 May 2007.</ref> ฉะนั้นนักวิชาการหลายแขนงในปัจจุบันจึงต้องใช้คำนี้ในความหมายที่แบ่งเป็นสามกลุ่ม: [[พหุเทวนิยม|พหุเทวนิยมในประวัติศาสตร์]] (เช่น[[พหุเทวนิยมเคลติค]] (Celtic paganism) หรือ [[พหุเทวนิยมนอร์ส]] (Norse paganism)), [[ศาสนาพื้นบ้าน]]/[[ศาสนาเผ่าพันธุ์]]/ศาสนาท้องถิ่น (เช่น[[ศาสนาพื้นบ้านของชาวจีน]] หรือ [[ศาสนาพื้นบ้านของชาวแอฟริกา]]) และ [[ลัทธิเพกันใหม่]] (เช่น[[วิคคา]] (Wicca) และ [[ลัทธิเพกันใหม่เยอรมัน]] (Germanic Neopaganism))