ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำพุเตรวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ใช้ปีคศ|width=280px}} thumb|280px |“น้ำพุเทรวี” [[File:Fontana di Trevi by nig...
 
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[Fileไฟล์:Trevi Fountain, Rome, Italy 2 - May 2007.jpg|thumb|280px |“น้ำพุเทรวี”]]
[[Fileไฟล์:Fontana di Trevi by night.JPG|thumb|280px |“น้ำพุเทรวี” ยามค่ำ]]
'''น้ำพุเทรวี''' ({{lang-it|Fontana di Trevi}}, {{lang-en|'''Trevi Fountain''''}}) เป็นน้ำพุที่ตั้งอยู่ที่[[เทรวี ริโอเน]]ใน[[กรุงโรม]]ใน[[ประเทศอิตาลี]] เป็นน้ำพุที่มีความสูง 25.9 เมตร (85 ฟุต) และกว้าง 19.8 เมตร (65 ฟุต) และน้ำพุแบบ[[สถาปัตยกรรมบาโรก|บาโรก]]ที่ใหญ่ที่สุดในกรุงโรม
 
บรรทัด 11:
==น้ำพุปัจจุบัน==
===การว่าจ้าง, การก่อสร้าง และ การออกแบบ===
[[Fileไฟล์:Di Trevi - from the left.JPG|thumb|280px |“น้ำพุเทรวี” จากด้านซ้าย]]
ในปี ค.ศ. 1629 [[สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8]] ก็ทรงพบว่าน้ำพุเดิมไม่ใหญ่โตพอ พระองค์จึงทรงให้[[จานโลเรนโซ เเบร์นินีแบร์นินี]]ออกแบบน้ำพุใหม่ แต่เมื่อเออร์บันสิ้นพระชนม์โครงการก็ระงับไป สิ่งที่เเบร์นินีแบร์นินีทำคือย้ายที่ตั้งของน้ำพุไปทางอีกด้านหนึ่งของจตุรัสให้หันไปทาง[[วังคิรินาล]] (Quirinal Palace) แม้ว่าโครงการของเเบร์นินีแบร์นินีจะเป็นการรื้อทิ้งสำหรับน้ำพุซาลวิ แต่ก็ยังมีร่องรอยของเเบร์นินีแบร์นินีในน้ำพุที่สร้างใหม่ ร่างที่ออกแบบโดย[[เปียโตร ดา คอร์โทนา]]ก็ยังคงรักษาไว้ที่[[อัลแบร์ตินา]]ในเวียนนาและอีกหลายแบบที่เขียนกันในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 แต่ไม่ได้ลงชื่อ และโครงการที่เชื่อกันว่าเป็นของนิโคโล มิเชตติ<ref>John A. Pinto, "An Early Project by Nicola Michetti for the Trevi Fountain" ''The Burlington Magazine'' '''119''' No. 897 (December 1977:853-857).</ref> อีกแบบหนึ่งเชื่อว่าออกโดย[[เฟอร์ดินานโน ฟูกา]]<ref>{{cite journal|first=John |last=Pinto |coauthors=Elisabeth Kieven|title=An Early Project by Ferdinando Fuga for the Trevi Fountain in Rome|journal=The Burlington Magazine|volume=125|issue=|date=December 1983|pages=746-749, 751}}</ref> and a French design by [[Edme Bouchardon]].<ref>Pinto 1986. Bouchardon's drawing is conserved in the Musée Vivènal, Compiègne.</ref>
 
ระหว่างสมัย[[สถาปัตยกรรมบาโรก|บาโรก]]ก็มีการแข่งขันออกแบบสิ่งก่อสร้างต่างๆ กันขนานใหญ่ที่รวมทั้งน้ำพุและแม้แต่[[บันไดสเปน]] ในปี ค.ศ.1730 [[สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 12]] ก็ทรงจัดการแข่งขันออกแบบที่[[นิโคลา ซาลวิ]]เดิมแพ้แก่[[อเลสซานโดร กาลิเลอิ]] &mdash; แต่ประชาชนโรมก็ประท้วงเพราะกาลิเลอิเป็นชาวฟลอเรนซ ซาลวิจึงกลับมาได้รับสัญญาจ้างแทนที่<ref name=gross>{{cite book | last =Gross | first =Hanns | title =Rome in the Age of Enlightenment: the Post-Tridentine syndrome and the ancien regime | publisher =Cambridge University Press | date =1990 | location =New York | pages =28| isbn = 0521372119 }}</ref> การก่อสร้างเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1732 และเสร็จในปี ค.ศ. 1762 นานหลังจากพระสันตะปาปาคลีเมนต์สิ้นพระชนม์ไปแล้ว เมื่อประติมากรรมโอเชียนัส (เทพเจ้าแห่งน้ำ) โดย[[เปียโตร บรัชชิ]] (Pietro Bracci) ได้รับการติดตั้งในช่องกลางน้ำพุ
 
ซาลวิเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1751 เมื่อน้ำพุสร้างไปได้เพียงครึ่งหนึ่ง แต่ก่อนที่จะเสียชีวิตซาลวิก็จงใจที่จะซ่อนป้ายช่างตัดผมที่ไม่ต้องตาโดยการซ่อนอยู่ข้างหลังแจกันใหญ่ที่เรียกว่า “asso di coppe”