ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปีติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
* องค์[[ฌาน]] ได้แก่ ในปฐมฌาน ([[วิตก]] [[วิจาร]] [[ปีติ]] [[สุข]] [[เอกัคคตา]]) และ ทุติยฌาน ([[ปีติ]] [[สุข]] [[เอกัคคตา]])
นอกจากนี้ ปีติ ยังเป็นหนึ่งใน [[วิปัสสนูกิเลส]]๑๐ (อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา)
==ปีติเจตสิก==
ในคัมภีร์พระ[[อภิธรรม]] มีการกล่าวถึงปีติ ในลักษณะที่เป็น[[เจตสิก]](คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า '''ปีติเจตสิก''' มีลักษณะดังนี้ คือ
* มีความแช่มชื่นใจในอารมณ์ เป็น'''ลักษณะ'''
* มีการทำให้อิ่มกายอิ่มใจ หรือทำให้ซาบซ่านทั่วร่างกาย เป็น'''กิจ'''
* มีความฟูใจ เป็น'''ผล'''
* มีนามขันธ์๓ ที่เหลือ ([[เวทนา]]ขันธ์ [[สัญญา]]ขันธ์ [[วิญญาณ]]ขันธ์) เป็น'''เหตุใกล้'''
 
ธรรมชาติของปิตินี้ เมื่อเกิดขึ้นกับใคร ย่อมทำให้ผู้นั้นรู้สึกปลาบปลื้มใจ มีหน้าตาและกายวาจา ชื่นบานแจ่มใสเป็นพิเศษ บางทีก็ทำให้รู้สึกซาบซ่านไปทั่วร่างกาย ซึ่งเกิดจากปีติแผ่ซ่านไปทั่วร่างกายนี่เอง และทำให้จิตใจของผู้นั้นแช่มชื่น เข้มแข็ง ไม่รู้สึกเหนื่อยหน่ายต่ออารมณ์
 
อาการปรากฎของปีตินี้ คือ ทำให้จิตใจฟูอื่มเอิบขึ้นมา
 
ปีติจะเกิดขึ้นได้นั้น ย่อมต้องอาศัยนามขันธ์๓ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นเหตุใกล้ให้เกิด
 
เวทนาขันธ์ที่เป็นเหตุใกล้ให้เกิดปีตินั้น ย่อมอาศัยสุขเวทนา เป็นต้น เป็นเหตุให้ปีติเกิด ด้วยเหตุนี้เอง บางทีเราเข้าใจว่า ปีติและสุขเป็นอันเดียวกัน แยกจากกันไม่ได้ แต่ความจริงนั้นปีติกับสุขต่างกัน คือ ปีติเป็นสังขารขันธ์ สุขเป็นเวทนาขันธ์ และเมื่อมีปีติจะต้องมีสุขเสมอแน่นอน แต่ว่าเมื่อมีสุข อาจจะไม่มีปีติด้วยก็ได้
==ข้อความอ้างอิง==
* <small>จาก สุภสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙</small>
เส้น 64 ⟶ 78:
* [http://84000.org/tipitaka/dic/ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".]
* พระพุทธโฆษาจารย์. "คัมภีร์พระวิสุทธิมรรค".
* "พระอภิธัมมัตถสังคหะ".และ"อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา".
* พระอุปติสสเถระ. "วิมุตติมรรค".
* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=9&A=6777&Z=7316 สุภสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปีติ"