ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาปวารณา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "พระศาสดา" → "พระพุทธเจ้า" +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ช่วยดูหน่อย}}
{{พุทธศาสนา}}
'''มหาปวารณา''' เป็นวันสำคัญใน[[พุทธศาสนา]] ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 พระศาสดา[[พระพุทธเจ้า]]ทรงอนุญาตให้พระ[[ภิกษุ]]ทำปวารณา คือ ยอมให้ว่ากล่าวตักเตือนซึ่งกันและกัน หมายถึงยอมมอบตนให้[[สงฆ์]]กล่าวตักเตือน ในข้อบกพร่องที่ภิกษุทั้งหลายได้เห็นได้ยิน หรือมีข้อสงสัย ด้วขจิตเมตตา เพื่อจักได้สำรวมระวังปรับปรุงแก้ไขตนเอง เพื่อความเจริญของพระธรรมวินัยและความผาสุกในการอยู่ร่วมกัน
 
== ความเป็นมาของวันมหาปวารณา ==
ภิกษุจำพรรษาในแคว้นโกศล ตั้งกติกาไม่พูดกัน ใช้วิธีบอกใบ้ หรือใช้มือแทนคำพูด เมื่อออกพรรษาแล้วไปเฝ้าพระศาสดาพระพุทธเจ้า พระองค์ตรัสถาม ทรงติเตียน และทรงอนุญาตการปวารณา คือ การอนุญาตให้ภิกษุอื่นว่ากล่าวตักเตือนกันได้ กิกษุจำพรรรษาแล้วปวารณาด้วยเหตุ 3 ประการคือ
# โดยได้เห็น
# โดยได้ยิน ได้ฟัง
# โดยสงสัย
 
== วิธีปวารณา ==
ภิกษุเถระพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่งประคองอัญชลีแล้วกล่าวปวารณา 3 ครั้งเพื่อให้ภิกษุนวกะกล่าวปรวารณาตอบ ภิกษุนวกะก็ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่งประคองอัญชลีแล้วกล่าวปวารณา 3 ครั้ง ต่อมา พระพุทธองค์ทรงอนุญาอนุญาตให้นั่งกระโหย่งในระหว่างที่ยังปวารณา และทรงอนุญาตให้ภิกษุที่ปวารณาแล้วนั่งบนอาสนะ เพราะเคยมีภิกษุชราภาพนั่งกระโหย่งคอยนานจนเป็นลมล้มลง
 
== ปวารณาสูตร พระศาสดาพระพุทธเจ้าทรงปวารณาแก่หมู่สงฆ์ ==
คราวหนึ่งในพระวิหารบุพพาราม กรุงสาวัตถี พระศาสดาประทับอยู่กับภิกษุสงฆ์ 500 รูป ล้วนเป็นพระอรหัตน์ในวันอุโบสถขึ้น 15 ค่ำเพื่อจะทรงทำปวารณา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแก่เหล่าภิกษุนั้นว่า จะติเตียนการกระทำทางกาย ทางวาจาของพระองค์บ้างหรือไม่ พระสารีบุตรตอบ
คราวหนึ่งในพระวิหารบุพพาราม กรุงสาวัตถี พระพุทธเจ้าประทับอยู่กับภิกษุสงฆ์ 500 รูป ล้วนเป็นพระอรหัตน์ในวันอุโบสถขึ้น 15 ค่ำเพื่อจะทรงทำปวารณา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแก่เหล่าภิกษุนั้นว่า จะติเตียนการกระทำทางกาย ทางวาจาของพระองค์บ้างหรือไม่ พระสารีบุตรตอบปฏิเสธเพราะพระองค์ยังทางที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น จากนั้นพระสารีบุตรก็กล่าวปวารณาให้พระศาสดาพระพุทธเจ้าติเตียนท่าน พระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวปฏิเสธ เพราะพระสารีบุตรเป็นบัณฑิต เป็นผู้มีปัญญามาก พระสารีบุตรทูลถามอีกว่า พระองค์จะไม่กล่าวติเตียนการกระทำทางกาย ทางวาจา ของเหล่าภิกษุบ้างหรือ พระองค์กล่าวปฏิเสธ เพราะเหล่าภิกษุได้บรรลุวิชชา 3 อภิญญา 6 ได้อุภโตภาควิมุตติ และได้ปัญญาวิมุติเป็นพระอรหัตน์
 
== เหตุที่ทำให้เป็นคนว่ายากและว่าง่าย ==
อนุมานสูตร ธรรมที่ทำให้เป็นผู้ว่ายาก 16 ประการ
# เป็นผู้มีความปรารถนาลามก
# เป็นผู้ยกตนข่มผู้อื่น
# เป็นผู้มักโกรธ มีความโกรธครอบงำแล้ว
# เป็นผู้มักโกรธ ผูกโกรธ
# เป็นผู้มักโกรธ มักระแวง
# เป็นผู้มักโกรธ เปล่งวาจาใกล้ต่อความโกรธ
# เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้อง กลับโต้เถียงโจทก์
# เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้อง กลับรุกรานโจทก์
# เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้อง กลับเอาเรื่องอื่นมากลบเกลื่อนพูดนอกเรื่อง แสดงความโกรธ ความมุ่งร้าย ความไม่เชื่อฟังปรากฏ
# เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้อง ไม่พอใจตอบในความประพฤติ
# เมื่อภิกษุผู้เป็นโจทก์ฟ้อง กลับปรักปรำโจทก์
# ภิกษุเป็นผู้ลบหลู่ ตีเสมอ
# ภิกษุเป็นผู้ริษยา ตระหนี่
# ภิกษุเป็นผู้โอ้อวด เจ้ามายา
# ภิกษุเป็นผู้กระด้าง ดูหมิ่นผู้อื่น
# ภิกษุเป็นผู้ถือแต่ความเห็นของตน ถือรั้นถอนได้ยาก
 
[[หมวดหมู่:วันสำคัญทางพุทธศาสนา|มหาปวารณา]]
 
[[หมวดหมู่:วันสำคัญทางพุทธศาสนา|มหาปวารณา]]
[[หมวดหมู่:พระสงฆ์]]
[[หมวดหมู่:พิธีกรรมในพุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์พุทธศาสนา]]
{{โครงพุทธศาสนา}}