ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดออกซาลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
{{เก็บกวาด}}
 
{{Chembox
| Name =
| ImageFile = Oxalsäure3.svg
| ImageSize = 200px
| ImageName = Oxalic acid
| ImageFileL1 = OxalicAcid-stickAndBall.png
| ImageSizeL1 = 100px
| ImageNameL1 = Oxalic acid sitck-and-ball model
| ImageFileR1 = OxalicAcid-spaceFilling.png
| ImageSizeR1 = 100px
| ImageNameR1 = Oxalic acid space-filling model
| IUPACName = ethanedioic acid
| Section1 = {{Chembox Identifiers
| SMILES = OC (=O) C (O) =O
| CASNo = 144-62-7
}}
| Section2 = {{Chembox Properties
| Formula = H<sub>2</sub>C<sub>2</sub>O<sub>4</sub> (anhydrous) <br />H<sub>2</sub>C<sub>2</sub>O<sub>4</sub>·2H<sub>2</sub>O (dihydrate)
| MolarMass = 90.03 g/mol (anhydrous) <br />126.07 g/mol (dihydrate)
| Appearance = white crystals
| Density = 1.90 g/cm³ (anhydrous) <br />1.653 g/cm³ (dihydrate)
| Solubility = 9.5 g/100 mL (15 °C) <br />14.3 g /100 mL (25 °C<sup>?</sup>) <br />120 g/100 mL (100 °C)
| MeltingPt = 101-102°C (dihydrate)
}}
| Section7 = {{Chembox Hazards
| NFPA-H = 3
| NFPA-F = 1
| NFPA-R =
| FlashPt = 166 °C
| ExternalMSDS = [http://www.jtbaker.com/msds/englishhtml/o6044.htm External MSDS]
}}
| Section8 = {{Chembox Related
| OtherCpds = [[oxalyl chloride]]<br />[[disodium oxalate]]<br />[[calcium oxalate]]<br />[[phenyl oxalate ester]]
}}
}}
เส้น 43 ⟶ 40:
กรดออกซาลิกมีมวลโมเลกุล 90.03 g/mol (anhydrous) ความหนาแน่น 1.90 g/cm³ (dehydrate) จุดหลอมเหลว 101-102 °C (dehydrate) กรดออกซาลิกสามารถเตรียมได้จากการออกซิไดซ์น้ำตาล[[กลูโคส]]ด้วย[[กรดไนตริก]] โดยมี vanadium pentoxide เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา หรือในระดับอุตสาหกรรมที่ต้องการผลิตในปริมาณที่มากจะใช้ [[โซเดียมไฮดรอกไซด์]] ที่ร้อนดูดรับก๊าซ [[คาร์บอนมอนออกไซด์]] ภายใต้ความดันสูงซึ่งจะได้ โซเดียมออกซาเลต เป็นผลิตภัณฑ์
กรดออกซาลิกจะทำปฏิกิริยาให้สารประกอบ carboxylic acid อื่นๆเช่น สารประกอบ ester (dimethyloxalate), สารประกอบ acid chloride (oxalyl chloride) เป็นต้น ออกซาเลต (oxalate) ซึ่งเป็นคู่เบส (conjugate base) ของกรดออกซาลิก ยังเป็นลิแกนด์ที่ดีในการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน โดยมีลักษณะเป็น bidentate ligand ซึ่งจะให้ 2 อิเล็กตรอนและจับกลุ่มเป็นวง 5 เหลี่ยม (MO<sub>2</sub>C<sub>2</sub>) เช่น potassium ferrioxalate, K<sub>3</sub>[Fe (C<sub>2</sub>O<sub>4</sub>) <sub>3</sub>] หรือเป็นยา Oxaliplatin โดยมีโลหะอะตอมกลางเป็น[[พลาตินัม]] ใช้ในทางเคมีบำบัดให้กับผู้ป่วยโรคมะเร็ง
 
กรดออกซาลิกจะพบมากในพืช เช่น พืชตระกูล Sorrel ในกลุ่ม Oxalis หรือที่รู้จักกันคือ ส้มกบ หรือหญ้าเกล็ดหอยจีน