ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะเมริเซียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ug:ئامېرىتسىي
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +ธาตุ
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Elementbox_header | number=95 | symbol=Am | name=อะเมริเซียม | left=[[พลูโทเนียม]] | right=[[คูเรียม]] | above=[[ยูโรเพียม|Eu]] | below= (Uqp) | color1=#ff99cc | color2=black }}
{{Elementbox_series | [[แอกทิไนด์]]}}
{{Elementbox_groupperiodblock | group=? | period=7 | block=f }}
{{Elementbox_appearance | สีขาวเงิน }}
{{Elementbox_atomicmass_gpm | [[1 E-25 kg| (243)]] }}
{{Elementbox_econfig | &#91;[[เรดอน|Rn]]&#93; 5f<sup>7</sup> 7s<sup>2</sup> }}
{{Elementbox_epershell | 2, 8, 18, 32, 25, 8, 2 }}
บรรทัด 17:
{{Elementbox_section_atomicprop | color1=#ff99cc | color2=black }}
{{Elementbox_crystalstruct | hexagonal }}
{{Elementbox_oxistates | 6, 5, 4, '''3'''<br /> ([[amphoteric]] oxide) }}
{{Elementbox_electroneg_pauling | 1.3 }}
{{Elementbox_ionizationenergies1 | 578 }}
บรรทัด 27:
{{Elementbox_isotopes_begin | isotopesof=อะเมริเซียม | color1=#ff99cc | color2=black }}
{{Elementbox_isotopes_decay2 | mn=241 | sym=Am
| na = [[synthetic radioisotope|syn]] | hl=[[1 E10 s|432.2 y]]
| dm1 = [[spontaneous fission|SF]] | de1=- | pn1= | ps1=-
| dm2 = [[alpha decay|&alpha;]] | de2=5.638 | pn2=237 | ps2=[[เนปทูเนียม|Np]] }}
{{Elementbox_isotopes_decay3 | mn=242[[nuclear isomer|m]] | sym=Am
| na = [[synthetic radioisotope|syn]] | hl=141 [[ปี|y]]
| dm1 = [[Isomeric transition|IT]] | de1=0.049 | pn1= | ps1=-
| dm2 = &alpha; | de2=5.637 | pn2=238 | ps2=[[เนปทูเนียม|Np]]
| dm3 = SF | de3=- | pn3= | ps3=- }}
{{Elementbox_isotopes_decay2 | mn=243 | sym=Am
| na = [[synthetic radioisotope|syn]] | hl=[[1 E11 s|7370 y]]
| dm1 = SF | de1=- | pn1= | ps1=-
| dm2 = &alpha; | de2=5.438 | pn2=239 | ps2=[[เนปทูเนียม|Np]] }}
{{Elementbox_isotopes_end}}
{{Elementbox_footer | color1=#ff99cc | color2=black }}
 
'''อะเมริเซียม''' ([[ภาษาอังกฤษ{{lang-en|อังกฤษ]]:Americium}})ธาตุอเมริเซียม เป็น[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]สังเคราะห์ มีสัญลักษณ์ว่า Am และมีเลขอะตอม 95 เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี ธาตุอเมริเซียมเป็นธาตุแอกทิไนด์ ธาตุนี้ได้ถูกสังเคราะห์ขึ้นในปีค.ศ. 1944 โดย ระดมยิงธาตุพลูโตเนียมด้วยนิวตรอน และธาตุทรานยูเรเนียมตัวที่ 4 ก็ได้ถูกค้นพบ ชื่อของธาตุนี้ได้ถูกตั้งชื่อตามทวีปอเมริกาเหมือนกับธาตุยูโรเปียม ธาตุอเมริเซียมถูกใช้อย่างกว้างขวาง ในการค้าขายเครื่องตรวจจับควันชนิดไอออนไนเซชั่น
 
== คุณสมบัติ ==
ธาตุอเมริเซียมบริสุทธิ์มีสีขาวเงินแวววาว ที่อุณหภูมิห้องธาตุนี้จะเกิดการหมองอย่างช้าในอากาศแห้ง ธาตุนี้มีสีเงินมากกว่าธาตุพลูโตเนียม หรือธาตุเนปจูเนียม และดูเหมือนว่าจะสามารถตีเป็นรูปร่างต่างๆได้ง่ายกว่าธาตุเนปจูเนียม หรือธาตุยูเรเนียม การปลดปล่อยอนุภาคอัลฟาจาก 241Am จะใช้เวลา 3 เท่าของธาตุเรเดียม 241Am หลายกรัม จะปล่อยรังสีแกมมาอย่างรุนแรง ซึ่งจะสร้างปัญหาอย่างรุนแรงสำหรับทุกคนที่สัมผัสกับธาตุนี้
ธาตุอเมริเซียมสามารถแตกตัวในปฏิกิริยานิวเคลียร์ 241Am แตกตัวได้อย่างไม่จำกัดขอบเขตในปริมาณ 60 กิโลกรัม ซึ่งมันไม่น่าจะเป็นไปได้ที่จะเอาธาตุอเมริเซียมไปเป็นเชื้อเพลิงอาวุธนิวเคลียร์ เพราะมันผลิตได้น้อยและได้รับความนิยมน้อยกว่าไอโซโทปของธาตุพลูโตเนียม หรือ ธาตุยูเรเนียม