ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสอบสนามหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ภาพ
บรรทัด 2:
'''สอบสนามหลวง''' คือการสอบไล่วัดความรู้[[ปริยัติธรรม|พระปริยัติธรรม]]ของ[[สงฆ์|คณะสงฆ์]]ไทย โดยคำว่า "สนามหลวง" นั้นสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "การสอบพระปริยัติธรรมบาลีใน[[พระบรมมหาราชวัง|พระราชวังหลวง]]" โดยการสอบสนามหลวงในสมัยก่อนนั้น[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]จะทรงรับเป็นพระราชภาระ ถวายความอุปถัมภ์การจัดสอบขึ้นในพระบรมมหาราชวัง โดยจัดสอบแบบปากเปล่า คือ[[ภิกษุ|พระภิกษุ]]หรือ[[สามเณร]]ผู้ศึกษา[[บาลี]]มีความรู้พอสมควรแล้ว เข้าสอบบาลีสนามหลวงโดยการแปล คัมภีร์[[ภาษาบาลี]]เป็น[[ภาษาไทย]] หรือแต่งภาษาไทยเป็นภาษาบาลี ต่อหน้า[[พระที่นั่ง]]และคณะกรรมการพระเถรานุเถระ โดยผู้สอบไล่ได้ในชั้นประโยคต่างๆ จะได้รับการพระราชทาน[[สมณศักดิ์]] [[พัดยศ]] [[ไตรจีวร]] และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระภิกษุสามเณรผู้สอบได้ให้เป็น[[เปรียญ]] และรับ[[นิตยภัต]]ของหลวง เป็นการยกย่องเชิดชู
 
== ประวัติความเป็นมาการสอบสนามหลวง<ref>[http://www.watyai.com/ceo_watyai.html การศึกษาของพระ ป.ธ.3 ถึง ป.ธ. 9 คืออะไร], จุลสารพระธรรมทูตวัดไทยลาสเวกัส</ref> ==
{{โครงส่วน}}
การสอบบาลีสนามหลวงนั้นมีมาตั้งแต่สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] ในสมัยต้น[[รัตนโกสินทร์]]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสอบในทำนองเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ 3 ปีมีการสอบครั้งหนึ่ง เป็นการสอบแบบปากเปล่า มีพระเถราจารย์ผู้ทรงภูมิความรู้เป็นกรรมการสอบ<ref>[http://www.watyai.com/ceo_watyai.html การศึกษาของพระ ป.ธ.3 ถึง ป.ธ. 9 คืออะไร], จุลสารพระธรรมทูตวัดไทยลาสเวกัส</ref>
 
=== การสอบไล่ปากเปล่าในอดีต ===
[[ไฟล์:สนามสอบธรรมสนามหลวง.jpeg|300170px|left|thumb|ปัจจุบันการสอบสนามหลวงเปลี่ยนการสอบแบบปากเปล่าต่อหน้า[[พระที่นั่ง]] มาเป็นการสอบแบบข้อเขียน โดยกระจายสนามสอบไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ]]
 
วิธีการสอบไล่ในอดีตคือผู้เข้าสอบเข้าไปแปลคัมภีร์[[อรรถกถา]]ต่อหน้าพระเถราจารย์ และพระเถราจารย์จะซักถามผู้เข้าสอบไล่ จึงเป็นที่มาของคำว่า '''ไล่ความรู้''' หรือ '''สอบไล่'''
เส้น 15 ⟶ 16:
 
=== การเปลี่ยนรูปแบบสอบไล่บาลีมาเป็นข้อเขียน ===
 
[[ไฟล์:มังคลัตถทีปนีแปล.jpg|150px|thumb|left| ปัจจุบันการเล่าเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี เปลี่ยนมาใช้หลักสูตรหนังสือของมหามกุฎราชวิทยาลัย ''ในภาพ:หนังสือมงคลัตถทีปนี'']]
 
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง[[มหามกุฎราชวิทยาลัย]]ขึ้นในคณะสงฆ์[[ธรรมยุตินิกาย]] [[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส]] ซึ่งเวลานั้นทรงเป็นผู้ช่วยเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติกนิกายได้ทรงกำหนดหลักสูตรของมหามกุฎราชวิทยาลัยขึ้น โดยกำหนดให้ผู้เรียน เรียนทั้งหนังสือไทยและ[[บาลีไวยากรณ์]] โดยผู้เข้าเรียนในสำนักมหามกุฎราชวิทยาลัย นี้มีทั้งพระภิกษุ สามเณร และ[[ฆราวาส]]
เส้น 27 ⟶ 25:
== การสอบสนามหลวงในปัจจุบัน ==
 
[[ไฟล์:Student In Uttaradit 2.JPG|170px|thumb|ปัจจุบันฆราวาสสามารถสอบสนามหลวงได้เช่นกัน แต่สามารถสอบได้เฉพาะหลักสูตรธรรมศึกษา ซึ่งมีความเข้มข้นต่างจากธรรมศึกษาของพระสงฆ์มาก]]
[[ไฟล์:สนามสอบธรรมสนามหลวง.jpeg|300px|thumb|ปัจจุบันการสอบสนามหลวงเปลี่ยนการสอบแบบปากเปล่าต่อหน้า[[พระที่นั่ง]] มาเป็นการสอบแบบข้อเขียน โดยกระจายสนามสอบไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ]]
 
การสอบสนามหลวงในปัจจุบันนี้แบ่งเป็นสองประเภทคือการสอบบาลีสนามหลวง และสอบธรรมสนามหลวง