ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังกัสสะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{สถานที่สำคัญในพุทธภูมิ}}
 
'''สังกัสสะ''' คือเมืองโบราณในสมัย[[พุทธกาล]] มีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองที่เสด็จลงจาก[[ดาวดึงส์]]เทวโลกของ[[พระสัมมาสัมพุทธเจ้า]] หลังจากที่พระองค์เสด็จไปทรงจำพรรษาที่ 7 หลังการตรัสรู้ ณ ดาวดึงส์ เพื่อทรงแสดง[[พระอภิธรรมปิฎก]]โปรดพระพุทธมารดา<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส สาริปุตตสุตตนิทเทสที่ ๑๖ ว่าด้วยกระแสเสียงของพระพุทธเจ้าประกอบด้วยองค์ ๘. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=29&A=10137 ]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref> ปัจจุบันสังกัสสะตั้งอยู่ที่หมู่บ้านสังกิสสะ (Sankissa Basantapura) ในจังหวัดฟารุกาหบาท (Farrukahabad) [[รัฐอุตตระประเทศตตรประเทศ]] [[ประเทศอินเดีย]] เมืองแห่งนี้ไม่ค่อยมีผู้แสวงบุญไปจาริกเท่าใดนัก เนื่องจากการเดินทางไปยังหมู่บ้านแห่งนี้ในปัจจุบันเป็นไปด้วยความยากลำบาก
 
 
'''สังกัสสะ''' คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองที่เสด็จลงจากดาวดึงส์เทวโลกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หลังจากที่พระองค์เสด็จไปทรงจำพรรษาที่ 7 หลังการตรัสรู้ ณ ดาวดึงส์ เพื่อทรงแสดงพระอภิธรรมปิฎกโปรดพระพุทธมารดา<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส สาริปุตตสุตตนิทเทสที่ ๑๖ ว่าด้วยกระแสเสียงของพระพุทธเจ้าประกอบด้วยองค์ ๘. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=29&A=10137 ]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref> ปัจจุบันสังกัสสะตั้งอยู่ที่หมู่บ้านสังกิสสะ (Sankissa Basantapura) ในจังหวัดฟารุกาหบาท (Farrukahabad) รัฐอุตตระประเทศ ประเทศอินเดีย เมืองแห่งนี้ไม่ค่อยมีผู้แสวงบุญไปจาริกเท่าใดนัก เนื่องจากการเดินทางไปยังหมู่บ้านแห่งนี้ในปัจจุบันเป็นไปด้วยความยากลำบาก
 
== ความสำคัญ ==
 
นอกจากเมืองแห่งนี้จะเป็นสถานที่เสด็จลงจากดาวดึงส์เทวโลกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว บริเวณที่ใกล้กับสังกัสสะนั้นคือที่ตั้งของเมืองกโนช์ หรือกเนาช์ ซึ่งมีชื่อในภาษาบาลีว่า "กณฺณกุช"<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=7&A=7877&Z=7890&pagebreak=0 ]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52</ref> และในภาษาสันสกฤตว่า "กานฺยกุพฺช" โดยเมืองกโนช์มีความสำคัญในหลังพุทธกาล คือในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 เมืองนี้ได้เป็นเมืองหลวงของพระเจ้าหรรษวรรธนะ (Haravardhana) ผู้ทรงเป็นพุทธศาสนูปถัมภกที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา และเมืองกโนช์ได้เป็นที่มั่นสำคัญยิ่งแห่งหนึ่งของพระพุทธศาสนาในยุคนั้น โดยเมื่อหลวงจีนถังซำจั๋งได้มาเยี่ยมเมืองแห่งนี้ ท่านได้บันทึกไว้ว่ามีวัดกว่าร้อยวัด และมีพระอยู่ประจำกว่าหมื่นรูป ทั้งสงฆ์เถรวาทและมหายาน<ref>สุนนท์ ปัทมาคม, รศ. . ''สมุดภาพแดนพุทธภูมิ ฉลองชนมายุ ๘๐ ปี พระสุเมธาธิบดี วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์''. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 17 ⟶ 15:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.oknation.net/blog/5445/2008/04/07/entry-1 น้อยคนนักจะรู้จัก สังกัสสะ]. วีระยุทธ์ สันตยานนท์ เว็บไซต์ oknation. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
 
 
[[หมวดหมู่:เมืองสำคัญทางพระพุทธศาสนา]]