ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระครูอุตรการบดี (ทา โสณุตฺตโร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
หลวงพ่อทา ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น พระครูอุตรการบดี (ทา)
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ภาพ:LP-ta.jpg|thumb|หลวงพ่อทา]]
 
'''พระครูอุตรการบดี''' หรือ '''หลวงพ่อทา''' เป็นพระเกจิที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากในราวปี พ.ศ. 2430-2460 ความเฉียบขาดและความดุของท่านทำให้นักเลงและเสือร้ายเกรงกลัวมาก จนได้รับฉายาว่า "หลวงพ่อเสือ" บ้างก็เรียก "พ่อเสือกระเบนยอดด้วน" เนื่องจากท่านชอบถือหางกระเบนลงอาคม สมณศักดิ์สุดท้ายที่ "พระครูอุตรการบดี" ดำรงตำแหน่ง "เจ้าคณะแขวงเมืองนครปฐม" </br>
[[ภาพ:LP-ta.jpg|thumb|หลวงพ่อพระทา]]
'''พระครูอุตรการบดี''' หรือ '''หลวงพ่อ(ทา)''' เป็นพระเกจิที่ภิกษุชาวไทย มีชื่อเสียงโด่งดังมากในราวปีระหว่าง พ.ศ. 2430-2460 ความเฉียบขาดและความดุของท่านทำให้นักเลงและเสือร้ายเกรงกลัวมาก จนได้รับฉายาว่า "หลวงพ่อเสือ" บ้างก็เรียก "พ่อเสือกระเบนยอดด้วน" เนื่องจากท่านชอบถือหางกระเบนลงอาคม สมณศักดิ์สุดท้ายที่ "พระครูอุตรการบดี" ดำรงตำแหน่ง "เจ้าคณะแขวงเมืองนครปฐม" </br>
 
== ประวัติ ==
หลวงพ่อพระทา [[วัดพะเนียงแตก]] พื้นเพเป็นชาวบ้านหนองเสือ อำเภอโพธาราม [[จังหวัดราชบุรี]] เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2379 ในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่ออายุ 6 ขวบ ท่านได้ศึกษาที่วัดโพธาราม และบรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ 15 ปีที่วัดเดียวกัน ต่อมาเมื่อครบอายุบวช จึงได้อุปสมบท ณ วัดบ้านฆ้อง (วัดบ้านฆ้อง ในอดีตเป็นสำนักปฏิบัติธรรมและพระกัมมัฏฐานที่มีชื่อเสียงมาก)
 
หลวงพ่อพระทา ภายหลังจากการอุปสมบทแล้ว ได้ตั้งใจศึกษาพระธรรมวินัยจนมีความรู้อย่างแตกฉาน เมื่อเห็นสมควรแล้ว ได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติพระกัมมัฏฐานควบคู่ไปกับการเรียนคาถาอาคมต่างๆต่าง ๆ จนชำนาญ จึงกราบลาพระอาจารย์ ออกเดินธุดงค์ไปตามสถานที่ต่างๆต่าง ๆ กาลเวลาได้ล่วงเลยมาเป็นระยะเวลาหลายสิบปี ที่ท่านหลวงพ่อพระทาได้ออกออกธุดงค์ จนกระทั่ง พ.ศ. 2430 ขณะนั้นท่านมีอายุ 51 ปี ได้เดินมาถึงบริเวณ ตำบลมาบแค [[จังหวัดนครปฐม]] ซึ่งบริเวณนั้นเป็นพื้นที่รกร้างนอกเมือง ท่านได้ปักกรดพักแรมและทราบด้วยฌาณว่า บริเวณนี้เคยเป็นพื้นที่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน หลวงพ่อพระทาจึงได้ออกเดินสำรวจโดยรอบ และได้พบระฆังใบใหญ่ใบหนึ่งมีอักขระขอมจารึกไว้ เป็นข้อความปริศนาแต่ตีความได้ไม่ยาก แสดงว่าเจ้าของทรัพย์ได้อธิษฐานมอบแก่ผู้มีบุญบารมีและมีจิตเป็นกุศลจึงจะสามารถพบเจอสมบัติ ซึ่งท่านหลวงพ่อพระทาทราบเจตนารมย์ของเจ้าของสมบัติ จึงนำสมบัตินั้นไปสร้างวัด
 
หลวงพ่อพระทา [[วัดพะเนียงแตก]] ช่วงนั้นมีชื่อเสียงโด่งดังมาก ได้รับการยอมรับนับถือกันอย่างกว้างขวาง [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 ทรงทราบถึงกิติคุณดังกล่าว จึงรับสั่งโปรดเกล้าให้เข้าเฝ้าอยู่เสมอ หลวงพ่อพระทาก็เป็นเถราจารย์องค์หนึ่งที่พระองค์ท่านโปรดปราน ดังนั้นพระราชพิธีหลวงต่างๆต่าง ๆ ท่านจะนิมนต์หลวงพ่อพระทาอยู่เสมอ
 
โดยในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์องค์[[พระปฐมเจดีย์]] และทรงแต่งตั้งพระเถระ 4 รูป เพื่อทำหน้าที่พิทักษ์และเฉลิมพระเกียรติองค์[[พระปฐมเจดีย์]] ประจำทั้ง 4 ทิศ
 
#พระครูอุตรการบดี ประจำทิศเหนือ ซึ่งหลวงพ่อโดยพระทา ได้รับการแต่งตั้งเป็นองค์แรก และองค์ต่อมาคือ หลวงปู่พระบุญ วัดกลางบางแก้ว หลวงปู่พระสุข วัดห้วยจระเข้
#พระครูทักษิณานุกิจ ประจำทิศใต้ พระเถระที่เคยดำรงสมณศักดิ์นี้คือ หลวงพ่อพระเงิน วัดสรรเพชร หลวงพ่อเงินวัดดอนยายหอม
#พระครูปริมานุรักษ์ ประจำทิศตะวันออก พระเถระที่เคยดำรงสมณศักดิ์นี้คือ หลวงพ่อพระคล้าย วัดศิลามูล
#พระครูปาจิณทิศบริหาร พระเถระที่เคยดำรงสมณศักดิ์นี้คือ หลวงปู่พระนาค [[วัดห้วยจระเข้]]
 
 
หลวงพ่อพระทาได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการสงบ ในปี พ.ศ. 2463 รวมสิริอายุได้ประมาณ 84 ปี 64 พรรษา
 
== การรับเป็นศิษย์ ==
หลวงพ่อพระทามีลูกศิษย์มากมาย แต่ที่มี่ชื่อเสียงเป็นที่รู้จักมีอย่างน้อย 2 ท่าน
#หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง
#หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม