ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารละลายในน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขให้ถูกต้อง
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
{{}}
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Na+H2O.svg|thumb|right|โซเดียมไอออนที่ละลายในน้ำ]]
'''สารละลายในน้ำ''' ({{lang-en|Aqueous solution}})​ คือ[[สารละลาย]]ที่มี[[ตัวทำละลาย]]เป็น[[น้ำ]] มักจะแสดงไว้ใน[[สมการเคมี]]โดยใส่ "(aq)" ต่อท้ายสสารนั้น ซึ่ง aq ย่อมาจาก aqueous หมายถึงความเกี่ยวข้องหรือ[[การละลาย]]ในน้ำ น้ำเป็นตัวทำละลายที่ดีชนิดหนึ่งทั้งในธรรมชาติและในการทดลองทาง[[เคมี]]
 
สารที่ไม่ละลายในน้ำมักมีคุณสมบัติไม่ชอบน้ำ (hydrophobic) ส่วนสารที่ละลายในน้ำได้มักมีคุณสมบัติชอบน้ำ (hydrophilic) ตัวอย่างของสารที่ละลายในน้ำได้เช่น[[โซเดียมคลอไรด์]] (เกลือแกง) [[กรด]]และ[[เบส]]ส่วนใหญ่เป็นสามารถละลายได้ในน้ำ ซึ่งเป็นไปตามนิยามส่วนหนึ่งของทฤษฎีปฏิกิริยากรดเบส (ยกเว้นนิยามของ[[ลิวอิส]]) ความสามารถในการละลายน้ำของสสารจะพิจารณาว่า สสารนั้นสามารถจับตัวกับน้ำได้ดีกว่าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำหรือแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของสารนั้นหรือไม่ หากเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้ความสามารถในการละลายน้ำลดลง (เช่น อุณหภูมิเปลี่ยนไป) น้ำระเหยออกไปจากสารละลาย หรือ เกิดปฏิปริกิริยาเคมีทำให้เกิดสารที่ไม่ละลายน้ำ จะเกิด[[การตกตะกอน]]หรือ[[ตกผลึก]]