ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 1846079 สร้างโดย Zambo (พูดคุย)
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[ไฟล์:Charles%2C_Prince_of_Wales.jpg|thumb|280px |[[เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์]] ผู้ทรงเป็น “รัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” แห่งราชบัลลังก์[[สหราชอาณาจักร]]]]
'''รัชทายาททายาทผู้มีสิทธิโดยตรง<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref>''' ({{lang-en|'''Heir apparent'''}}) คือ[[ทายาท]]ผู้ (นอกจากมีเหตุการณ์อันคาดไม่ถึง) ที่ไม่สามารถมีผู้ใดมาแทนได้ในการรับตำแหน่งหรือมรดก ในทั่วไปคำ heir apparent ตรงกับ "ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง" ซึ่งเป็นคำที่ตรงกันข้ามกับคำว่า “[[ทายาทโดยสันนิษฐาน]]” (heir presumptive) ผู้เป็นทายาทอยู่ในสายที่มีสิทธิแต่อาจจะมาแทนได้เมื่อใดก็ได้ ปัจจุบันคำนี้มักจะใช้สำหรับทายาทสำหรับตำแหน่ง[[ขุนนางสืบตระกูล]]โดยเฉพาะในกรณีของ[[พระมหากษัตริย์]] และใช้เป็นอุปลักษณ์ว่าผู้นั้นเป็นผู้ได้ผ่านพิธีในการยอมรับในตำแหน่งเช่นว่าอย่างเป็นทางการ (“anointed”) ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมืองหรือผู้นำทางธุรกิจ
 
“ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ไม่ปรากฏบ่อยนักและถ้าใช้ในภาษาอังกฤษก็มักจะใช้ในรูป “Heir Apparent” สถาบัน[[พระมหากษัตริย์]]ส่วนใหญ่แล้วก็จะมีตำแหน่งเป็นทางการสำหรับรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเช่น “[[มกุฎราชกุมาร]]” หรือมีตำแหน่งที่มีชื่อเฉพาะเช่น “[[เจ้าชายแห่งออเรนจ์]]” (Prince of Orange) ใน[[เนเธอร์แลนด์]] หรือ “[[เจ้าชายแห่งเวลส์]]” ใน[[สหราชอาณาจักร]] เป็นต้น