ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติบุคคล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการหมวดหมู่}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพไฟล์:Nitibukkhonphanit.jpg|thumb|220px|right|ตัวอย่างใบรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลด้านพาณิชย์ของไทย ให้ไว้โดย[[กรมพัฒนาธุรกิจการค้า]] [[กระทรวงพาณิชย์]]]]
'''นิติบุคคล''' ({{lang-en|juristic person}}) คือ กลุ่มบุคคล องค์กร หรือทรัพย์สินที่จัดสรรไว้เป็นกองทุนเพื่อดำเนินกิจการอันใดอันหนึ่ง ซึ่ง[[กฎหมาย]]สมมุติให้เป็น[[บุคคล]]ทั้งที่จริงแล้วมิใช่บุคคลเลยเพื่อให้มีสิทธิและหน้าที่ทั่วไปเหมือนบุคคลธรรมดา และมีสิทธิและหน้าที่โดยเฉพาะตามที่กฎหมายบัญญัติหรือภายในขอบเขตหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในกฎหมายหรือ[[ตราสาร]]จัดตั้งหรือในข้อบังคับของนิติบุคคลนั้น ๆ นิติบุคคลจะมีได้ก็แต่โดยอำนาจแห่งกฎหมายจัดตั้งขึ้น เดิมเรียกว่า "บุคคลนิติสมมุติ" หรือ "บุคคลนิติสมมติ"<ref>กนกวรรณ ทองตะโก. (2551, 26 มิถุนายน). ''บุคคล/บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล.'' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=2457 http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=2457]. (เข้าถึงเมื่อ: 3 ตุลาคม 2551).</ref>
 
เส้น 7 ⟶ 8:
นิติบุคคลนั้นจะมีได้ก็แต่โดยอำนาจแห่งกฎหมายจัดตั้งขึ้น เช่น พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัย[[แสงซินโครตรอน]] (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2551 บัญญัติให้มีการจัดตั้ง[[สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)|สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน]]ขึ้นเป็น[[องค์การมหาชน]]โดยให้มีสถานะเป็นนิติบุคคล<ref>สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551, 22 กันยายน). ''พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2551''. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://www.krisdika.go.th/lawPDF.jsp?LType=2A&formatFile=pdf&vID=3 http://www.krisdika.go.th/lawPDF.jsp?LType=2A&formatFile=pdf&vID=3]. (เข้าถึงเมื่อ: 3 ตุลาคม 2551).</ref>
 
ตามกฎหมายไทยนั้น แบ่งประเภทนิติบุคคลไว้เป็นเจ็ดจำพวก ดังต่อไปนี้ 1) ทบวงการเมือง 2) วัดวาอาราม 3) ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนแล้ว 4) บริษัทจำกัด 5) สมาคม 6) มูลนิธิ และ 7) นิติบุคคลอื่น ๆ ที่กฎหมายจัดตั้งขึ้น (มาตรา 65 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์) <ref name = ThaiCivilCode >สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551, 10 มีนาคม). ''ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.'' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://www.krisdika.go.th/lawHeadPDF.jsp?formatFile=pdf&hID=0 http://www.krisdika.go.th/lawHeadPDF.jsp?formatFile=pdf&hID=0]. (เข้าถึงเมื่อ: 3 ตุลาคม 2551).</ref>
 
=== ทบวงการเมือง ===
 
'''ทบวงการเมือง''' ({{lang-en|administrative department '' (นิติศาสตร์) '', public body '' (รัฐศาสตร์) ''}}) คือ ส่วนราชการและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่มีสภาพเป็นนิติบุคคลและมีอำนาจหน้าที่ในทางปกครอง ซึ่งได้แก่
 
1. ราชการส่วนกลาง ({{lang-en|central administration}}) ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการที่เรียกชื่อย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ประเภทหลังนี้เช่น [[ราชบัณฑิตยสถาน]]ซึ่งมีฐานะเป็นกรมแต่ไม่ได้มีชื่อเรียกกว่ากรม เป็นต้น
เส้น 55 ⟶ 56:
== สิ่งประกอบสภาพนิติบุคคล ==
 
1. '''ชื่อ''' นิติบุคคลต้องมีชื่อตามแต่กฎหมายจะมอบให้ หรือตามที่กฎหมายบัญญัติให้ตั้งไว้ แต่ไม่จำเป็นต้องมีชื่อสกุล ชื่อของนิติบุคคลได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ผู้ใดจะมาใช้ซ้ำหรือเอาไปหาประโยชน์ใด ๆ โดยมิชอบมิได้ '' (ดูเพิ่มเติมที่ '''[[บุคคล#ชื่อของบุคคล#ชื่อของนิติบุคคล|ชื่อของนิติบุคคล]]''') ''
 
2. '''ภูมิลำเนา''' นิติบุคคลมี[[ภูมิลำเนา]]ได้สามกรณีดังต่อไป 1) ภูมิลำเนาอันเป็นถิ่นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่หรือที่ทำการ 2) ภูมิลำเนาที่เลือกเอาเป็นภูมิลำเนาเฉพาะการตามแต่จะกำหนดไว้ในกฎหมายหรือตราสารจัดตั้ง หรือในข้อบังคับของนิติบุคคลนั้น ๆ หรือ 3) ภูมิลำเนาอันเป็นที่ตั้งของที่ทำการสาขาหรือสำนักงานสาขา โดยให้เป็นภูมิลำเนาสำหรับกิจการที่ได้ทำ ณ สาขานั้น ๆ