ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติกระทรวงการคลังไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
cat
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
ดังนั้นเมื่อได้เสด็จขึ้นว่าราชการแผ่นดินโดยเด็ดขาด จึงทรงเริ่มทำการปฏิรูปการคลังโดยโปรดเกล้าฯ ให้ ตั้ง[[หอรัษฎากรพิพัฒน์]] ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2416 ในพระบรมมหาราชวัง ให้เป็นที่ทำการของเจ้าพนักงานพระคลังมหาสมบัติ และให้มีพนักงานบัญชีกลางสำหรับรวบรวมบัญชีเงินผลประโยชน์แผ่นดินและตรวจตราการเก็บภาษีอากรซึ่งกระทรวงต่างๆ เป็นเจ้าหน้าที่เก็บนั้น ให้รู้ว่าเป็นจำนวนเงินเท่าใด และเร่งเรียกเงินของแผ่นดินในด้านภาษีอากรให้ส่งเข้าพระคลังมหาสมบัติตามกำหนด พร้อมกันนั้นได้ทรงตราพระราชบัญญัติสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ จุลศักราช 1235 หรือ [[พ.ศ. 2416]]
 
จากพระราชบัญญัติสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานอำนาจแก่[[มเด็จสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ]] ทรงจัดให้มีเจ้าพนักงานบัญชีกลางรวบรวมพระราชทรัพย์ ซึ่งขึ้นในท้องพระคลังทั้งปวงตั้งสำนักงานอยู่ในหอรัษฎากรพิพัฒน์ในพระบรมมหาราชวัง ให้มีแบบธรรมเนียมที่เจ้าภาษีนายอากรต้องปฏิบัติในการรับประมูลผูกขาดจัดเก็บภาษีอากร ให้มีเจ้าจำนวนภาษีของพระคลังทั้งปวงมาทำงานในสำนักงานเป็นประจำ เพื่อตรวจตราเงินภาษีอากรที่เจ้าภาษีนายอากรนำส่งต่อพระคลังแต่ละแห่ง โดยครบถ้วนตามงวดที่กำหนดให้
 
การกำหนดหน้าที่ของเจ้าพนักงาน[[หอรัษฎากรพิพัฒน์]] และระเบียบข้อบังคับให้เจ้าภาษีนายอากรปฏิบัติโดยเคร่งครัด เป็นการตัดผลประโยชน์ของเจ้าพนักงานทั้งปวง จึงกล่าวได้ว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงวางรากฐานระเบียบการปฏิบัติการภาษีอากรและการเงินของประเทศไว้เป็นครั้งแรก ทำให้รัฐบาลมีรายได้เพิ่มมากขึ้น
บรรทัด 65:
== ยกฐานะกรมพระคลังมหาสมบัติเป็นกระทรวง พ.ศ. 2433 ==
 
ในปี [[พ.ศ. 2430]] เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทววงศ์วโรปการวะวงศ์วโรปการ ]]จะเสด็จเป็นผู้แทนพระองค์ไปช่วยงานฉลองรัชกาล[[สมเด็จพระบรมราชินีนาถวิคตอเรีย]] ครบ 50 ปี ณ [[ประเทศอังกฤษ]] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสสั่งให้ไปพิจารณาดูแบบอย่างการปกครองของประเทศในทวีปยุโรป เมื่อสมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการเสด็จกลับมา ก็ถวายรายงานให้ทรงทราบ ในปี [[พ.ศ. 2433]] ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินขึ้น กำหนดการปกครองส่วนกลางเป็นกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ซึ่งถือเป็นการปฏิรูปการปกครองของไทยให้ทันสมัย กรมพระคลังมหาสมบัติจึงได้รับการยกฐานะเป็นกระทรวง
 
=== พระราชบัญญัติพระธรรมนูญหน้าที่ราชการในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ร.ศ. 109 ===
บรรทัด 113:
ทรงประกาศตั้งเสนาบดีเจ้ากระทรวงต่าง ๆ ขึ้นให้มีศักดิ์เสมอกันทั้ง 12 กระทรวง ยุบเลิกตำแหน่งอัครมหาเสนาบดี และเสนาบดีจตุสดมภ์
 
พระบรมราชโองการฉบับนี้ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง[[สมเด็จพระเจ้าน้องยาบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี ]]กรมพระจักรพรรดิพงษ์พงศ์ ]] เป็นเสนาบดีกระทรวงการคลังพระมหาสมบัติ แต่เนื่องจากทรงพระประชวร [[กรมหมื่นพระนราธิปประพันธพงศ์ประพันธ์พงศ์]] จึงทรงปฏิบัติราชการแทนต่อมาในปีเดียวกัน วันที่ [[21 มีนาค]]ม [[พ.ศ. 2435]] ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเสนาบดี โดยให้[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตวัดติวงศ์[[]] ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงการคลังมหาสมบัติแทน
 
ในปี พ.ศ. 2435 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมพระคลังข้างที่ ซึ่งแต่เดิมสังกัดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ให้มาสังกัดกระทรวงมุรธาธิการ ปัจจุบัน กรมพระคลังข้างที่ได้เปลี่ยนมาเป็นสำนักงานพระคลังข้างที่สังกัดอยู่ในสำนักพระราชวัง
บรรทัด 120:
=== การยกเลิกระบบเจ้าภาษีอากรเปลี่ยนมาเป็นรัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรเอง ===
 
นับตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว การเก็บภาษีอากรจากราษฎรใช้วิธีการประมูลผูกขาด ให้เจ้าภาษีนายอากรรับผูกขาดไปเก็บภาษีจากราษฎรทุกปี ปรากฏว่าวิธีการดังกล่าวนี้ไม่มีประสิทธิภาพรัฐบาลไม่ได้รับเงินผลประโยชน์ครบตามจำนวน ถึงแม้ว่าจะได้มีการปรับปรุงมาตรการต่างๆ เช่น การตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ พ.ศ. 2416 แล้วก็ตาม ในปี พ.ศ.2436 พันเอกพระยาฤทธิรงค์รณเฉท (สุข ชูโต) [[สมุหเทศาภิบาล]][[มณฑลปราจีนบุรี]] ได้เสนอให้เจ้าพนักงานของรัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรเอง ในสมัยพี่[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ ]] เป็นเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ แต่ยังไม่ได้ดำเนินการอย่างใด จนกระทั่งเมื่อ [[ระเจ้าพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมขุนหมื่นมหิศรราชหฤทัย ]] มาเป็นเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ (พ.ศ.2439-2449) ทรงทราบเรื่องและทรงเห็นว่าเป็นผลดีสมตามความมุ่งหมายของรัฐบาล จึงมีพระประสงค์จะปรับปรุงแก้ไขวิธีการเก็บภาษีอากร และได้กราบทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสนอวิธีการปรับปรุงการเก็บภาษีอากรใหม่ยกเลิกการประมูลผูกขาดเก็บภาษีอากรเปลี่ยนมาเป็นรัฐบาลดำเนินการจัดเก็บเอง ครั้นเมื่อได้รับพระบรมราชานุญาตแล้ว ก็เตรียมการในเรื่องนี้ต่อไป
 
=== การจ้างที่ปรึกษาชาวต่างประเทศในกิจการคลัง ===
 
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อจะทรงปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย จำเป็นต้องใช้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ แต่ข้าราชการไทยในเวลานั้นยังขาดความรู้และประสบการณ์ จึงทรงเห็นควรจ้างชาวต่างประเทศที่รู้งานเข้ามารับราชการ และเป็นที่ปรึกษากระทรวงพระคลังมหาสมบัติได้จ้างชาวต่างประเทศที่มีความรู้ในด้านการคลังมาทำงานหลายคน ได้แก่
 
* มิสเตอร์ อี.โฟล ริโอ เข้ารับราชการในกรมสารบาญชี เมื่อปี พ.ศ. 2436 ท่านได้วางรูปบัญชีแบบสากลเป็นคนแรก ซี่งใช้ถือปฏิบัติในกรมบัญชีกลางสืบมา
* มิสเตอร์ เอฟ.เอช. ไยลส์ และ มิสเตอร์ดับเบิลยู เอ. เกรแฮม ชาวอังกฤษจากอินเดีย ช่วยเตรียมวิธีการปรับปรุงให้เจ้าพนักงานของรัฐบาลเป็นผู้จัดเก็บภาษีอากรเอง เมื่อปี [[พ.ศ. 2440]]
เส้น 138 ⟶ 139:
[[ภาพ:อัฐ01.gif|thumb|150px|อัฐกระดาษแบบต่างๆ]]
[[ภาพ:อัฐ02.gif|thumb|150px|อัฐกระดาษแบบต่างๆ]]
[[ภาพ:อัฐ03.gif|thumb|150px|อัฐกระดาษ "ราคาอัฐหนึ่ง"<br>เพื่อเป็นการแก้ไขภาวะการขาดแคลนเหรียญกษาปณ์ อันเป็นสาเหตุทำให้นายบ่อนการพนันเอาเปรียบประชาชน รวมทั้งการค้าขายรายย่อยที่ต้องหยุดชะงักเพราะขาดเงินปลีก เพราะขณะนั้นกำลังซื้อเครื่องจักรทำเหรียญกษาปณ์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงโปรดเกล้าให้ทำเงินกระดาษราคาต่ำที่เรียกว่า 'อัฐกระดาษ' ออกใช้ในปี [[พ.ศ.2417]] อัฐกระดาษนี้มีลักษณะเป็นเงินกระดาษด้านเดียว ทำจากกระดาษปอนด์ขนาดกว้าง 9.3 [[ซ.ม.]] ยาว 15 ซ.ม.]]
[[ภาพ:ธนบัตร01.gif|thumb|150px|ตามพระราชบัญญัติธนบัตร [[พ.ศ. 2445|รศ. 121]] ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ.2445]] ว่า "...โดยพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ จัดทำตั๋วสำคัญที่ใช้แทนเงินเรียกว่า [[ธนบัตร]] ขึ้น" และมีพิธีเปิดกรมธนบัตร ในวันที่ 19 กันยายน รศ.121 (พ.ศ.2445) ขึ้นในหอรัษฎากรพิพัฒน์ ธนบัตรแบบแรกของไทยที่นำออกใช้ พิมพ์ด้วยระบบพิมพ์เส้นราบและพิมพ์เพียงด้านเดียว เรียกว่า "ธนบัตรหน้าเดียว" มี 5 ชนิดราคา คือ 5, 10, 20, 100 และ 1,000 บาท]]
 
=== ตั้งกรมพระคลังมหาสมบัติ ===
เส้น 167 ⟶ 168:
=== ตั้งกรมสถิติพยากรณ์ ===
 
การวางนโยบายการปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ ย่อมต้องอาศัยความรู้ในความเป็นไปของบ้านเมืองและราษฎร เป็นพื้นฐานแห่งนโยบายนั้น สถิติของบ้านเมือง กระทรวงบางแห่งได้เคยเก็บรักษาไว้ แต่เพื่อจะให้ได้รับประโยชน์ยิ่งขึ้นจากสถิติเหล่านี้ก็สมควรมีเจ้าหน้าที่กองกลาง เป็นผู้รวบรวมข้อความและตัวเลขต่าง ๆ แสดงสถิติของบ้านเมืองขึ้นเป็นพยากรณ์สำหรับประโยชน์ทั่วไป พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จังตั้งกรมสถิติพยากรณ์ขึ้นในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ตั้งแต่วันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2458]] ภายหลังได้รับการยกฐานะเป็น[[กระทรวงพาณิชย์]]ในปี [[พ.ศ. 2463 ]]
 
=== กรมศุลกากร ===