ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YurikBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Modifying: zh:朝鮮語羅馬字表記法
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การถอดภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมัน''' (Korean romanization) คือการเขียน[[ภาษาเกาหลี]] โดยใช้[[อักษรละติน|อักษรโรมัน]]ในการแทนเสียง ในปัจจุบันมีอยู่ 3 ระบบหลักที่นิยมใช้ ได้แก่
 
* Revised[[ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี Romanization of Korean (RR)2000]] เป็นระบบที่ใช้ในปัจจุบันในประเทศเกาหลีใต้แทนที่ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ โดยเริ่มใช้ใน ปี พ.ศ. 2543 รัฐบาลเกาหลีได้ใช้ระบบนี้ในการเปลี่ยนแปลงป้ายบอกทาง หนังสือเรียนต่างๆ พัฒนาโดย[[สถาบันภาษาเกาหลีแห่งชาติ]] ในปี [[พ.ศ. 2538]] และเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ [[4 กรกฎาคม]] พ.ศ. 2543 โดยได้ปรับปรุงการใช้งาน คำศัพท์หลายคำที่ออกเสียงไม่ตรงกับต้นฉบับภาษาเกาหลี รวมถึงการใช้ตัวอักษรแบบธรรมดาไม่มีสัญลักษณ์พิเศษเหนือตัวอักษรโรมันซึ่งยากต่อการใช้งาน
* [[แมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์|ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์]] (McCune-Reischauer, MR) เป็นระบบแรกที่มีการใช้งาน เริ่มพัฒนาใน ปี [[พ.ศ. 2480]] (ค.ศ. 1937) และได้รับการยอมรับในวงกว้าง ซึ่งใน[[ประเทศเกาหลีใต้]]ได้มีการใช้ระบบที่ดัดแปลงจากระบบนี้ นำมาใช้เป็นระบบอย่างเป็นทางการของประเทศในช่วง พ.ศ. 2527-2543 คิดค้นโดย [[จอร์จ เอ็ม. แมกคูน]] และ [[เอดวิน โอ. ไรซ์ชาวเออร์]]
* ระบบเยล เป็นระบบที่พัฒนาใช้ในวงการ[[ภาษาศาสตร์]] พัฒนาโดย [[ซามูเอล เอลโม มาร์ติน]]ที่[[มหาวิทยาลัยเยล]]ใน ปี [[พ.ศ. 2485]] (ค.ศ. 1942)
* Revised Romanization of Korean (RR) เป็นระบบที่ใช้ในปัจจุบันในประเทศเกาหลีใต้แทนที่ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ โดยเริ่มใช้ใน ปี พ.ศ. 2543 รัฐบาลเกาหลีได้ใช้ระบบนี้ในการเปลี่ยนแปลงป้ายบอกทาง หนังสือเรียนต่างๆ พัฒนาโดย[[สถาบันภาษาเกาหลีแห่งชาติ]] ในปี [[พ.ศ. 2538]] และเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ [[4 กรกฎาคม]] พ.ศ. 2543 โดยได้ปรับปรุงการใช้งาน คำศัพท์หลายคำที่ออกเสียงไม่ตรงกับต้นฉบับภาษาเกาหลี รวมถึงการใช้ตัวอักษรแบบธรรมดาไม่มีสัญลักษณ์พิเศษเหนือตัวอักษรโรมันซึ่งยากต่อการใช้งาน
 
== ตัวอย่างของระบบต่างๆ ==