ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัณหา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mahatee (คุย | ส่วนร่วม)
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 10:
 
ควรเห็นตัณหา เป็นดังเครือเถาที่เกิดขึ้น แล้ว จงตัดรากเสียด้วย[[ปัญญา]]
== ตัณหาแบ่งออกเป็น ๓ อย่าง ==
* ๑. '''[[กามตัณหา]]''' คือ ความอยากหรือไม่อยาก ใน [[สัมผัสทั้ง ๕]]
* ๒. '''[[ภวตัณหา]]''' คือ ความอยากทางจิตใจ เมื่อได้สิ่งนั้นมาแล้ว ไม่ต้องการให้มันเปลี่ยนแปลง
บรรทัด 16:
 
ควรเจริญอริย[[มรรค]]อันประกอบด้วยองค์ ๘ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อกำหนดรู้ เพื่อความสิ้นไป เพื่อละตัณหา ๓ อย่างนี้
== ตัณหา ๖ ==
ตัณหา ๖ หมวด ได้แก่
# '''รูปตัณหา''' คือ อยากได้รูป (ที่มองเห็นด้วยตา)
# '''สัททตัณหา''' คือ อยากได้เสียง
# '''คันธตัณหา''' คือ อยากได้กลิ่น
# '''รสตัณหา''' คือ อยากได้รส
# '''โผฏฐัพพตัณหา''' คือ อยากได้โผฏฐัพพะ (ความรู้สึกทางกายสัมผัส)
# '''ธัมมตัณหา''' คือ อยากในธรรมารมณ์ (สิ่งที่ใจนึกคิด)
 
ความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ ความบังเกิด ความปรากฏแห่งตัณหาทั้ง๖นี้ เป็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์
บรรทัด 31:
ตัณหาทั้ง๖ นี้ ไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา ผู้เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
 
== ธรรมะที่เกียวข้อง ==
* <small>จาก ตัณหาสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗</small>
 
''ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจใน รูปตัณหา นี้เป็นอุปกิเลสแห่งจิต ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในสัททตัณหา ฯลฯ ใน คันธตัณหา ฯลฯ ในรสตัณหา ฯลฯ ในโผฏฐัพพตัณหา ฯลฯ ในธรรมตัณหา ฯลฯ นี้เป็นอุปกิเลสแห่งจิต. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล ภิกษุละอุปกิเลสแห่งจิตในฐานะ ๖ นี้ได้ เมื่อนั้น จิตของเธอย่อมเป็นจิตน้อมไปใน[[เนกขัมมะ]] อันเนกขัมมะอบรมแล้ว ควรแก่การงาน ปรากฏในธรรมที่พึงทำให้แจ้งด้วย[[อภิญญา]].''
 
* <small>จาก ตัณหาสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓</small>
 
''ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมอันมีตัณหาเป็นมูล ๙ ประการ เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอันมีตัณหาเป็นมูล ๙ ประการเป็นไฉน การแสวงหาเพราะอาศัยตัณหา ๑ การได้เพราะอาศัยการแสวงหา ๑ การวินิจฉัยเพราะอาศัยการได้ ๑ ฉันทราคะเพราะอาศัยการวินิจฉัย ๑ ความหมกมุ่นเพราะอาศัยฉันทราคะ ๑ ความหวงแหนเพราะอาศัยความหมกมุ่น ๑ ความตระหนี่เพราะอาศัยความหวงแหน ๑ การจัดการอารักขาเพราะอาศัยความตระหนี่ ๑ ธรรมอันเป็นบาปอกุศลหลายประการ คือ การจับท่อนไม้ จับศาตราการทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท กล่าววาจาส่อเสียดว่ามึงๆ และพูดเท็จย่อมเกิดขึ้น ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมมีตัณหาเป็นมูล ๙ ประการนี้แล ฯ''
== ดูเพิ่ม ==
* [http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B8 เหตุเกิดตัณหาซึ่งเกิดขึ้นแก่ภิกษุ]
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตัณหา"