ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โยคะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่:สุขภาพ; ลบป้ายต้องการหมวดหมู่ออก ด้วยสจห.
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 4:
 
== ประวัติและความเป็นมา ==
โยคะถือกำเนิดใน[[ประเทศอินเดีย]]เมื่อหลายพันปีที่แล้ว โดยในสมัยโบราณนั้นมนุษย์ได้ค้นคว้าเป็นครั้งแรกเกี่ยวกับความเข้าใจในความ เป็นอยู่ของตนเอง อดีตมีการจารึกถ้อยคำด้วยตัวอักษรความรู้ที่สำคัญๆทั้งหมดถูกส่งผ่านคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งในรูปแบบของนิทาน ด้วยวิธีการเช่นนี้ ความรู้ต่างๆจึงได้สะสมขึ้นและวัฒนธรรมต่างๆได้พัฒนาขึ้นมา และนี่คือวิธีการที่การฝึกโยคะได้ถ่ายทอดมาถึงปัจจุบันในหุบเขาแห่ง อินดัส วอลเลย์ นักโบราณคดีได้ค้นพบไม้แกะสลักและศิลปะรูปปั้นที่แสดงถึงการฝึกโยคะ ศิลปะเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นโดยประชาคมที่มีความเจริญเป็นอย่างสูง ซึ่งเจริญอยู่ในพื้นที่แถบนั้นช่วง 2000 และ1000 ปีก่อนคริสต์ศักราช (ปัจจุบัน คือส่วนหนึ่งของ[[ประเทศปากีสถาน]]) [[นักปราชญ์]]ชาว[[ฮินดู]]คนหนึ่งชื่อว่า พาตานจาลี เป็นคนแรกที่ปรับปรุงการฝึกโยคะขั้นพื้นฐาน เขาเขียนสูตรของการฝึกโยคะเป็นหัวข้อ 8 หัวข้อสั้นๆ หัวข้อเหล่านี้เชื่อว่าได้ถูกเขียนขึ้นเมื่อ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช <ref>[http://pirun.ku.ac.th/~b5002162 ความเป็นมาของโยคะ]</ref>
โดยผู้ที่ปฏิบัติโยคะที่เป็นผู้ชายเรียกว่า yogins or yogis ส่วนผู้หญิงเรียกว่า yoginis ส่วนผู้สอนเรียกว่า guru ประเทศตะวันตกได้นำโยคะมาเป็นการออกกำลังกายโดยดัดแปลงจาก Hatha-Yoga ซึ่งเป็นแขนงหนึ่งของโยคะ <ref>[http://student.nu.ac.th/yoka/history.html ประวัติโยคะ]</ref>
 
บรรทัด 13:
โยคะพื้นฐานสำหรับมารดาตั้งครรภ์ จึงเป็นส่วนหนึ่งในโครงการตั้งครรภ์คุณภาพ
 
* '''ท่าที่ 1'''
เหยียดขาตรงไปข้างหน้า มือ 2 ข้างเท้าที่พื้นแขนเหยียดตรงข้างลำตัว (ให้จิตอยู่ที่นิ้วโป้งเท้า...หายใจเข้าทางจมูกให้ท่องป่องออก) หายใจเข้า
 
1.1 หายใจออกทางปากอย่างช้า ๆ (ท้องแฟบเข้า) ปลายเท้าซ้ายชี้ลง ปลายเท้าขวาชี้ขึ้น
บรรทัด 20:
1.2 หายใจเข้าทางจมูก (ท้องป่องออก) ปลายเท้าซ้ายชี้ขึ้น ปลายเท้าขวาชี้ลง (ทำ 10 ครั้ง)
 
* '''ท่าที่ 2'''
นั่งเหยียดขาตรงไปข้างหน้า มือ 2 ข้างเท้าที่พื้นแขนเหยียดตรงข้างลำตัว (ให้จิตอยู่ที่ข้อเท้าซ้าย หายใจเข้าทางจมูกให้ท้องป่องออก)
 
บรรทัด 27:
2.2 หายใจเข้าทางจมูกอย่างช้า ๆ (ท้องป่องออก) เหยียดเท้าซ้ายออก (ทำ 10 ครั้ง) แล้วจึงเปลี่ยนไปทำเท้าขวา (อีก 10 ครั้ง)
 
* '''ท่าที่ 3'''
นั่งโดยเอาฝ่าเท้าประกบกัน เข่าสองข้างแยกออก (ให้จิตอยู่ที่หัวเข่า กายใจเข้าทางจมูก ให้ท้องป่องออก)
 
บรรทัด 34:
3.2 หายใจเข้าทางจมูกอย่างช้า ๆ (ท้องป่องออก) ให้เอามือทั้งข้าง กดหัวหัวเข่าลงให้มากที่สุด (ทำ 10 ครั้ง)
 
* '''ท่าที่ 4 '''
นั่งเหยียดขาตรงไปข้างหน้าหลังตรงแขนสองข้างเหยียดตรงไปข้างหน้า มือหงายขึ้น (ให้จิตอยู่ที่นิ้วหัวแม่มือ หายใจเข้าทางจมูก ให้ท้องป่องออก)
 
บรรทัด 41:
4.2 หายใจเข้าทางจมูกให้แบมือออก (ทำ 10 ครั้ง )
 
* '''ท่าที่ 5'''
นั่งเหยียดขาตรงไปข้างหน้าหลังตรงแขนสองข้างเหยียดตรงไปข้างหน้า มือ 2 ข้างคว่ำลง (ให้จิตอยู่ที่ข้อมือ หายใจเข้าทางจมูกอย่างช้า ๆ ให้ท้องป่องออก)
 
บรรทัด 48:
5.2 หายใจเข้าทางจมูกอย่างช้า ๆ คว่ำมือขวาลง กรดกมือซ้ายขึ้นข้อมืออยู่คู่กัน (ทำ 10 ครั้ง)
 
* '''ท่าที่ 6'''
นั่งขัดสมาธิ หลังตรงแขนสองข้างเหยียดตรงไปข้างหน้า มือ 2 ข้างหงายขึ้น (ให้จิตอยู่ที่ข้อศอก หายใจเข้าทางจมูกอย่างช้า ๆ ให้ท่องป่องออก)
 
บรรทัด 55:
6.2 หายใจเข้าทางจมูกอย่างช้า ๆ พร้อมกับยกมือซ้ายไปแตะด้านหลังให้ลึกที่สุด มือขวากลับมาเหยียดตรงอย่างเดิม (ทำ 10 ครั้ง)
 
* '''ท่าที่ 7'''
นั่งขัดสมาธิ หลังตรง มือ 2 ข้างจับที่หัวไหล่ (ให้จิตอยู่ที่หัวไหล่ หายใจออกทางจมูกอย่างช้า ๆ ให้ท้องแฟบเข้า)
 
บรรทัด 62:
7.2 หายใจออกมือยังแตะที่หัวไหล่ ยกศอกขึ้นหลังมือแนบใบหู (ทำ 10 ครั้ง)
 
* '''ท่าที่ 8'''
 
8.1 ต่อจากท่าที่ 7 มือแตะที่หัวไหล่ หมุนข้อศอกไปข้างหน้า 10 ครั้ง
บรรทัด 72:
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|ยโคะ}} <!-- จัดอยู่ในหมวด "ย" -->
[[หมวดหมู่:สุขภาพ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โยคะ"