ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรรมฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 6:
กรรมฐาน เป็นสิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด เพื่อให้จิตสงบอยู่ได้ ไม่เที่ยวเตลิดเลื่อนลอยฟุ้งซ่าน ไปอย่างไร้จุดหมาย
 
== กรรมฐาน 40 ==
'''กรรมฐาน 40''' เป็นอุบาย40วิธีที่ใช้ฝึกจิตให้เกิดสมาธิ ก็คือสิ่งที่เอามาให้จิตกำหนด เพื่อชักนำให้เกิดสมาธิ พอจิตกำหนดจับสิ่งนี้เข้าแล้ว จะชักนำให้จิตแน่วแน่อยู่กับสิ่งนี้ จนเป็นสมาธิได้มั่นคงและเร็วที่สุด ในคัมภีร์[[อรรถกถา]]และปกรณ์ ได้รวบรวมแสดงกรรมฐานไว้ 40 อย่าง คือ
* '''[[กสิณ 10]]''' แปลว่า วัตถุอันจูงใจ หรือวัตถุสำหรับเพ่ง เพื่อจูงจิตให้เป็นสมาธิ<br>เป็นวิธีใช้วัตถุภายนอกเข้าช่วย โดยวิธีเพ่งเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง มี 10 อย่าง คือ
:*''ก.ภูตกสิณ 4 (กสิณคือมหาภูตรูป) '' ได้แก่ ปฐวีกสิณ อาโปกสิณ เตโชกสิณ วาโยกสิณ
:*''ข.วรรณกสิณ 4'' ได้แก่ นีลกสิณ ปีตกสิณ โลหิตกสิณ โอทาตกสิณ
:*''ค.กสิณอื่นๆ'' ได้แก่ อาโลกกสิณ อากาสกสิณ
 
* '''[[อสุภะ]] 10''' ได้แก่ การพิจารณาซากศพระยะต่างๆรวมกัน 10 ระยะ ตั้งแต่ศพเริ่มขึ้นอืด ไปจนถึงศพที่เหลือแต่โครงกระดูก
 
* '''[[อนุสติ 10]]''' คือ อารมณ์ดีงามที่ควรระลึกถึงเนืองๆ ได้แก่ [[พุทธานุสติ]] [[ธัมมานุสติ]] [[สังฆานุสติ]] [[สีลานุสติ]] [[จาคานุสติ]] [[เทวตานุสติ]] [[มรณสติ]] [[กายคตาสติ]] [[อานาปานสติ]] [[อุปสมานุสติ]]
* '''อัปปมัญญา 4 '''คือ ธรรมที่พึงแผ่ไปในมนุษย์ สัตว์ทั้งหลาย อย่างมีจิตใจสม่ำเสมอทั่วกันไม่มีประมาณ ไม่จำกัดขอบเขต โดยมากเรียกกันว่า [[พรหมวิหาร]] 4 คือ
# '''[[เมตตา]]''' คือ ปรารถนาดี มีไมตรีอยากให้มนุษย์ สัตว์ทั้งหลาย มีความสุขทั่วหน้า
# '''[[กรุณา]]''' คือ อยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์
# '''[[มุฑิตา]]''' คือ พลอยมีใจแช่มชื่นบาน เมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข และเจริญงอกงาม ประสบความสำเร็จยิ่งขึ้นไป
# '''[[อุเบกขา]]''' คือ วางจิตเรียบสงบ สม่ำเสมอ เที่ยงตรงดุจตาชั่ง มองเห็นมนุษย์ สัตว์ทั้งหลาย ได้รับผลดีร้าย ตามเหตุปัจจัยที่ประกอบ ไม่เอนเอียงไปด้วยชอบหรือชัง
 
* '''[[อาหาเร ปฏิกูลสัญญา]]''' กำหนดหมายความเป็นปฏิกูลในอาหาร
* '''[[จตุธาตุววัฏฐาน]]''' กำหนดพิจารณา[[ธาตุ 4]] คือ พิจารณาเห็นร่างกายของตน โดยสักว่าเป็นธาตุ 4 แต่ละอย่างๆ
* '''[[อรูป]] 4''' กำหนดสภาวะที่เป็นอรูปธรรมเป็นอารมณ์ ใช้ได้เฉพาะผู้ที่เพ่งกสิณ 9 อย่างแรก จนได้จตุตถฌานมาแล้ว กรรมฐานแบบอรูป มี 4 อย่าง คือ อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
<div class="NavFrame" style="width:100%;padding:0; border:0">
<div class="NavHead" style="font-weight: Normal;width:100%;padding:0; border:1px #aaaaaa solid; border-width:1px 1px 1px 1px;">รายละเอียด อรูป 4</div>
บรรทัด 31:
!
|-
| bgcolor = "#f8f8ff"|อากาสานัญจายตนะ||bgcolor="#f8f8ff"|-||bgcolor="#f8f8ff" |กำหนดช่องว่างหาที่สุดไม่ได้ (ซึ่งเกิดจากการเพิกกสิณออกไป) เป็นอารมณ์
|
|-
บรรทัด 37:
|
|-
| bgcolor = "#f8f8ff"|อากิญจัญญายตนะ||bgcolor="#f8f8ff"|-||bgcolor="#f8f8ff"| (เลิกกำหนดวิญญาณเป็นอารมณ์ เลยไป) กำหนดภาวะไม่มีอะไรเลยเป็นอารมณ์
|
|-
|เนวสัญญานาสัญญายตนะ||-|| (เลิกกำหนดแม้แต่ภาวะที่ไม่มีอะไรเลย) เข้าสู่ภาวะมี[[สัญญา]]ก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
|}
</div></div>
 
== ขีดขั้นความสำเร็จ ==
<div class="NavFrame" style="width:100%;padding:0; border:0">
<div class="NavHead" style="font-weight: Normal;width:100%;padding:0; border:1px #aaaaaa solid; border-width:1px 1px 1px 1px;">ขีดขั้นความสำเร็จของกรรมฐานแต่ละประเภท</div>
บรรทัด 54:
|
|-
| bgcolor = "#f8f8ff"|อสุภะ 10||bgcolor="#f8f8ff"|ปฏิภาคนิมิต||bgcolor="#f8f8ff"|อุปจารสมาธิ||bgcolor="#f8f8ff"|ปฐมฌาน||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|
|
|-
บรรทัด 60:
|
|-
| bgcolor = "#f8f8ff"|กายคตาสติ||bgcolor="#f8f8ff"|ปฏิภาคนิมิต||bgcolor="#f8f8ff"|อุปจารสมาธิ||bgcolor="#f8f8ff"|ปฐมฌาน||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|
|
|-
บรรทัด 66:
|
|-
| bgcolor = "#f8f8ff"|อัปปมัญญา 3ข้อแรก||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|อุปจารสมาธิ||bgcolor="#f8f8ff"|ปฐมฌาน||bgcolor="#f8f8ff"|ทุติยฌาน||bgcolor="#f8f8ff"|ตติยฌาน||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|
|
|-
บรรทัด 72:
|
|-
| bgcolor = "#f8f8ff"|อาหาเรปฏิกูลสัญญา||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|อุปจารสมาธิ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|
|
|-
บรรทัด 78:
|
|-
| bgcolor = "#f8f8ff"|อากาสานัญจายตนะ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|อุปจารสมาธิ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|จตุตถฌาน||bgcolor="#f8f8ff"|อากาสานัญจายตนะ
|
|-
บรรทัด 84:
|
|-
| bgcolor = "#f8f8ff"|อากิญจัญญายตนะ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|อุปจารสมาธิ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"| ||bgcolor="#f8f8ff"|จตุตถฌาน||bgcolor="#f8f8ff"|อากิญจัญจายตนฌาน
|
|-
บรรทัด 90:
|}
</div></div>
== กรรมฐาน 2 อย่าง ==
ในคัมภีร์ทางพระอภิธรรมบรรยายเกี่ยวกับกรรมฐานไว้ว่า ''การงานที่เป็นเหตุแห่งการบรรลุธรรม''
 
และแบ่งกรรมฐานเป็นสองอย่าง คือ
* '''[[สมถกรรมฐาน|สมถะ]]''' เป็นอุบาย การยังกิเลส นิวรณ์ทั้งหลายให้สงบ ระงับ
* '''[[วิปัสสนากรรมฐาน|วิปัสสนา]]''' เป็นปัญญา เห็นโดยอาการต่างๆ มีความไม่เที่ยง เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==
* พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
* [http://84000.org/tipitaka/dic/ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".]
บรรทัด 103:
* "พระอภิธัมมัตถสังคหะ".
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ฌาน]]
* [[:s:เจริญอานาปานสติ บำเพ็ญสติปัฏฐาน๔ ให้บริบูรณ์|เจริญอานาปานสติ บำเพ็ญสติปัฏฐาน๔ ให้บริบูรณ์ ]]ในวิกิซอร์ซ