ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตริงคอมโบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการวิกิลิงก์}}
{{ต้องการหมวดหมู่}}
 
'''สตริงคอมโบ''' String combo เป็น[[วงดนตรี]]เครื่องสายอย่าง[[ตะวันตก]]ขนาดเล็ก เกิดใหม่จากการดัดแปลงและรวมวงวงคอมโบเข้ากับวงชาโดว์
 
วงคอมโบ-Combo Band หมายถึงวงดนตรีขนาดเล็ก มุ่งประกอบการขับร้อง มีจำนวนเครื่องดนตรีไม่แน่นอน แล้วแต่ความสะดวก แต่หลักๆ มักประกอบด้วย [[ทรัมเป็ต]] [[เทเนอร์แซกโซโฟน]] [[อัลโตแซกโซโฟน]] [[ทรอมโบน]] [[เปียโน]] [[กีตาร์คอร์ด]] [[กีตาร์เบส]] [[กลองชุด]] เครื่องประกอบจังหวะอื่นๆ
 
วงชาโดว์-Shadow Band เป็นวงขนาดเล็กเช่นกัน มีกีตาร์ลีด กีตาร์คอร์ด กีตาร์เบส กลองชุด
== ประวัติวงสตริงฝั่งตะวันตก ==
 
== ประวัติ ==
=== ประวัติวงสตริงฝั่งตะวันตก ===
วงสตริงฝั่งตะวันตกแบ่งวิวัฒนาการออกได้เป็น 2 สมัย สมัยแรกคือดนตรีต้นตำรับตั้งแต่ร็อกยังไม่เกิด ได้แก่ บลูส์ คันทรี่ และโฟล์ก สมัยที่สองเป็นร็อกยุคแรกอันเป็นต้นฉบับให้กับร็อกรุ่นหลังถึงปัจจุบัน บรรพบุรุษร็อกนี้เรียกว่าคลาสสิค ร็อก
 
=== ประวัติวงสตริงของไทย ===
มาถึงกำเนิดสตริงสัญชาติ[[ไทย]] ช่วง พ.ศ. 2503-2515 วงการดนตรีของไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับเนื่องจากอิทธิพลผลงานเพลงตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาโดนใจโจ๋ยุคนั้นไม่ขาดสาย อาทิ เดอะ บีตเทิ่ลส์, เดอะ ชาโดว์, คลิฟ ริชาร์ด และเอลวิส เพรสลี่ย์ ฯลฯ แทบทุกรายมากับกีต้าร์ 3 ตัว กลอง 1 ชุด พร้อมๆ กันนั้นวงดนตรีของไทยก็เริ่มหันมาเล่นเพลงสากล ได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน
 
เมื่อครั้ง[[สหรัฐอเมริกา]]เข้ามาตั้งฐานทัพในไทย เพลงตะวันตกมีบทบาทสูงยิ่งอีกครั้ง วงดนตรีของไทยที่เล่นเพลงสากลในสมัยนั้น เช่น วงจอยท์ รีแอ็กชั่น วงซิลเวอร์แซนด์ วงรอยัลสไปรต์ส ฯลฯ ร้องและเล่นตามต้นแผ่นเสียงเป็นส่วนใหญ่
 
มาถึงกำเนิดสตริงสัญชาติไทย ช่วงพ.ศ. 2503-2515 วงการดนตรีของไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับเนื่องจากอิทธิพลผลงานเพลงตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาโดนใจโจ๋ยุคนั้นไม่ขาดสาย อาทิ เดอะ บีตเทิ่ลส์, เดอะ ชาโดว์, คลิฟ ริชาร์ด และเอลวิส เพรสลี่ย์ ฯลฯ แทบทุกรายมากับกีต้าร์ 3 ตัว กลอง 1 ชุด พร้อมๆ กันนั้นวงดนตรีของไทยก็เริ่มหันมาเล่นเพลงสากล ได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน
 
เมื่อครั้งสหรัฐอเมริกาเข้ามาตั้งฐานทัพในไทย เพลงตะวันตกมีบทบาทสูงยิ่งอีกครั้ง วงดนตรีของไทยที่เล่นเพลงสากลในสมัยนั้น เช่น วงจอยท์ รีแอ็กชั่น วงซิลเวอร์แซนด์ วงรอยัลสไปรต์ส ฯลฯ ร้องและเล่นตามต้นแผ่นเสียงเป็นส่วนใหญ่
== การประกวดสตริงคอมโบแห่งประเทศไทยครั้งแรก ==
[[พ.ศ. 2512]] คณะกรรมการจัดการประกวดสตริงคอมโบแห่งประเทศไทย ของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปภัมภ์ จัดการประกวดวงดนตรีสตริงคอมโบ มีกติกาบังคับว่าเล่นเพลงสากล 1 เพลง เพลงไทยสากล 1 เพลง และเพลงพระราชนิพนธ์ 1 เพลง ชัยชนะเป็นของ จอยท์ รีแอ็กชั่น ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “ดิ อิมพอสซิเบิ้ล”
 
พ.ศ. 2512 คณะกรรมการจัดการประกวดสตริงคอมโบแห่งประเทศไทย ของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปภัมภ์ จัดการประกวดวงดนตรีสตริงคอมโบ มีกติกาบังคับว่าเล่นเพลงสากล 1 เพลง เพลงไทยสากล 1 เพลง และเพลงพระราชนิพนธ์ 1 เพลง ชัยชนะเป็นของ จอยท์ รีแอ็กชั่น ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “ดิ อิมพอสซิเบิ้ล”
 
วง ดิ อิมพอสซิเบิ้ล ที่โด่งดังเหลือหลาย ประกอบด้วย เศรษฐา ศิระฉายา วินัย พันธุรักษ์ อนุสรณ์ พัฒนกุล สิทธิพร อมรพันธุ์ และพิชัย ธรรมเนียม ครองรางวัลชนะเลิศ 3 ปีติดต่อกัน ประวัติศาสตร์วงการดนตรีของไทยต้องบันทึกไว้ในฐานะวงดนตรีประเภทสตริงคอมโบของไทยวงแรกที่สามารถสร้างความรู้สึกเป็นสากล และเป็นวงแรกอีกเช่นกันเปิดทางให้วัยรุ่นฟังเพลงไทยแนวใหม่
เส้น 29 ⟶ 25:
ความสำเร็จถึงขั้นสูงสุดทำให้ผู้สร้างภาพยนตร์ไทยตลอดจนผู้ประพันธ์เพลงให้ความสนใจกับวงดนตรีประเภทนี้มากขึ้น เวลาเดียวกับที่วงดนตรีอื่นๆ ได้รับความนิยมตามมา นอกจากที่บอกไปแล้ว ยังมีวง พีเอ็ม 5, วง พีเอ็ม 7, วงแฟนตาซี, วงแกรนด์เอกซ์และวงชาตรี แล้วจากนั้นก็สู่ยุคแฟนฉัน ครึกครื้นรื่นเริงเรื่อยมาถึงยุคทุกวันนี้
 
 
== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* http://www.kroowachira.com/w11.html