ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 65:
กองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้รับแฟนทอมตามที่รัฐมนตรีกลาโหมฌรเบิร์ต แมคนามาราได้ผลักดันให้มีการสร้างเครื่องบินที่เหมาะกับทุกกองทัพ หลังจากที่เอฟ-4บีได้ชัยชนะใน"ปฏิบัติการไฮสปีด" (''Operation Highspeed'') เหนือคู่แข่งที่เป็น[[เอฟ-106 เดลต้า ดาร์ท]] กองทัพอากาศจึงได้ยืมเอฟ-4บีของกองทัพเรือมาสองลำ และใช้ชื่อว่าเอฟ-110เอ เปกเตอร์ชั่วคราวในเดือนมกราคม พ.ศ. 2505 และได้เพิ่มความต้องการในแบบของพวกเขาเอง มันไม่เหมือนกับของกองทัพเรือตรงที่กองทัพอากาศนั้นเน้นไปที่บทบาททิ้งระเบิด ด้วยการรวมชื่อของแมคนามาราเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2505 แฟนทอมได้กลายมาเป็นเอฟ-4 โดยที่กองทัพเรือเรียกมันว่าเอฟ-4บีและกองทัพอากาศเรียกว่าเอฟ-4ซี แฟนทอมของกองทัพอากาศทำการบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 โดยทำความเร็วได้ 2 มัคในการบินครั้งนั้น<ref name="knaackp266">Knaack 1978, p. 266.</ref>
 
การผลิตแฟนทอม 2 ในสหรัฐฯ สิ้นสุดลงในปีพ.ศ. 2522 หลังจากที่ผลิตออกมาได้ 5,195 ลำ (5,057 ลำผลิตโดยแมคดอนเนลล์ ดักลาสและ 138 ลำผลิตโดยมิตซูบิชิในญี่ปุ่น) ทำให้มันเป็นเครื่องบินอันดับสองที่ส่งออกและผลิตออกมามากที่สุดรองจาก[[เอฟ-86 เซเบอร์]]ที่ยังคงเป็นเครื่องบินไอพ่นที่มีจำนวนมากที่สุดของสหรัฐฯ มี 2,874 ลำเป็นของกองทัพอากาศ 1,264 ลำเป็นของกองทัพเรือและนาวิกโยธินสหรัฐฯ และของลูกค้าต่างชาติ<ref name="Boeing"> [http://www.boeing.com/defense-space/military/f4/ Integrated Defense Systems: F-4 Phantoms Phabulous 40th.] Boeing. Retrieved: 22 May 2007.</ref> เอฟ-4 ลำสุดท้ายที่สร้างโดยสหรัฐฯ เป็นของตุรกีในขณะที่เอฟ-4 ลำท้ายสุดเสร็จในปีพ.ศ. 2524 ซึ่งเป็นของอุตสาหกรรมมิตซูบิชิมน[[ญี่ปุ่น]] ในปีพ.ศ. 2551 มีแฟนทอม 631 ลำยังคงอยู่ในประจำการทั่วโลก</ref><ref name="Flight 2008">"[http://www.flightglobal.com/assets/getasset.aspx?ItemID=26061 DIRECTORY: WORLD AIR FORCES]". ''[[Flight International]]'', 11-17 November 2008.pp.52-76.</ref> ในขณะที่แฟนทอมยังคงถูกใช้เป็นโดรนโดยกองทัพสหรัฐฯ
 
==แบบต่างๆ==