ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปืนเล็กยาวจู่โจม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 43:
การใช้งานของสิ่งที่เกิดก่อนปืนเล็กยาวจู่โจมคือ[[เฟเดรอฟ อัฟโตมัท]]ของ[[รัสเซีย]]ในปีพ.ศ. 2458 และกระสุนปลอกขนาด 6.5x50 ม.ม.ของ[[ญี่ปุ่น]] แต่ของรัสเซียนั้นถูกใช้ในจำนวนที่น้อยมาก และมันยังไม่ใช่ปืนเล็กยาวจู่โจมจริงๆ ตามหลักปัจจุบันเพราะว่ามันไม่ใช้กระสุนแบบกลาง
 
ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ปืนโชแชท (''Chauchat'') ของ[[ฝรั่งเศส]]ได้ปรากฎปรากฏตัวขึ้น [[ปืนกลขนาดเบา]]และบรรพบุรุษของปืนเล็กยาวจู่โจมในปัจจุบัน มันถูกผลิตออกมาในจำนวนที่มาก (ประมาณ 250,000 กระบอก) เช่นเดียวกับปืนเล็กยาวจู่โจมในเวลาต่อมาคือมันสามารถยิงได้ทั้งแบบทีละนัดและแบบอัตโนมัติ และใช่[[แมกกาซีน]]และยังมีด้ามจับปืนพก เมื่อเทียบกับปืนกลขนาดเบาแบบอื่นในช่วงเวลานั้นโชแชทนั้นเบามากด้วยน้ำหนัก 9 กิโลกรัมแต่มันยังอุ้ยอ้ายในการต่อสู้ระยะใกล้และมีแรงถีบที่มากเกินที่จะควบคุมเมื่อยิงแบบอัตโนมัติเนื่องมาจากการใช้กระสุนที่ทรงพลังขนาด 8 ม.ม.หรือ .30-06 สปนิงฟีลด์ของสหรัฐฯ และกระสุนคาลิเบอร์ขนาด 7.92 หรือ 7.65 ถึงแม้ว่าจะมีข้อบกพร่องที่ร้ายแรงมันก็ยังสำคัญต่อการรบของทหารราบต่อทหารเยอรมันที่หมดหวังผู้ที่ไม่มีอาวุธที่เทียบเท่ากับปืนโชแชท พวกเยอรมันจึงเริ่มใช้อาวุธที่ยึดได้<ref>[http://www-cgsc.army.mil/carl/resources/csi/House/House.asp Toward Combined Arms Warfare: a Survey<!-- Bot generated title -->]</ref> ในขณะที่มันออกแบบมาเพื่อใช้กระสุนคาลิเบอร์เต็มขนาดและดังนั้นก็ไม่ได้ใช้ปลอกกระสุนกลาง มันเป็นอาวุธกลางระหว่างปืนกลมือและ[[ปืนกล]]ขนาดหนักอย่าง[[ปืนเลวิส]]
 
ริเบย์รอล 1918 (''Ribeyrolle 1918'') อาจเป็นอาวุธขนาดกระทัดรัดที่เลือกการยิงได้แบบแรกโดยใช้กระสุนกลางที่ในปัจจุับันปัจจุบันนิยามว่าเป็นปืนเล็กยาวจู่โจม ปลอกกระสุนมีพื้นฐานมาจากปลอก .351 วินเชสเตอร์และแคบจนเป็นกระสุน 8 ม.ม.เลเบล มันปรากฎปรากฏตัวครั้งแรกในกองทัพเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 มันมีชื่อเป็นทางการว่า''ปืนคาร์บินกล {{lang|fr|Carabine Mitrailleuse}}'' ({{lang-en|machine carbine}}; {{lang-de|Maschinenkarabiner}}) มันถูกยกเลิกในปีพ.ศ. 2464 เพราะว่ามันไม่แม่นยำพอในระยะไกลเกิน 400 เมตร
 
[[ปืนเล็กยาวอัตโนมัติ เอ็ม1918 บราวน์นิง]]หรือบาร์ ({{lang-en|''M1918 Browning Automatic Rifle, BAR''}}) ได้เลียนแบบความคิดของโชแชทแต่ไม่ได้ผลิตออกมาหรือใช้ในจำนวนที่มากจนกระทั่งจบสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง การพัฒนาต่อมาได้เพิ่มลำกล้องและไฟพ็อคที่หนักขึ้นซึ่งทำให้มันเหมือนกับ[[ปืนกล]]ขนาดเบาหรือ[[อาวุธอัตโนมัติประจำหมู่]]ในปัจจุบัน บาร์รุ่นนี้ถูกผลิตออกมาจำนวนมาก ใช้อย่างกว้างขวาง และทำหน้าที่ได้ดีในทศวรรษที่ 1960 ในกองทัพของสหรัฐฯ และชาติอื่นๆ