ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเข้มข้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 26:
{| style="text-align: center; margin: 0px auto;"
|-
| rowspan = "2" | ความเข้มข้นโดยโมล (mol/L)  = 
| จำนวนโมลของสสาร (mol)
|-
| style = "border-top: 1px solid black;" | ปริมาตรเป็นลิตรของสารละลาย (L)
|}
 
บรรทัด 35:
 
[[สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีนานาชาติ]] (NIST) ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐของ[[สหรัฐอเมริกา]]ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ[[การวัด]]และการรักษามาตรฐาน ได้พิจารณาว่าโมลาริตีและการใช้หน่วย M เป็นการใช้งานที่ล้าสมัย และแนะนำให้ใช้ ''ความเข้มข้นโดยจำนวนของสสาร'' (amount-of-substance concentration ย่อว่า ''c'') ในหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เมตร (mol/m<sup>3</sup>) หรือใช้หน่วยอื่นที่สามารถควบคู่ไปกับ[[หน่วยเอสไอ]] เช่นโมลต่อลิตร (mol/L) <ref>{{cite web
| url = http://physics.nist.gov/Pubs/SP811/sec11.html
| title = NIST Guide to SI Units
| accessdate = 2007-09-03 }}</ref> แต่คำแนะนำนี้ก็ยังไม่มีการนำไปใช้ในสถาบันการศึกษาหรืองานวิจัยทางเคมีเลย
 
การเตรียมสารละลายในความเข้มข้นโดยโมลที่ต้องการ ทำได้โดยใส่สสารที่เป็นตัวถูกละลายในปริมาณที่ได้ชั่งไว้แล้วอย่างแม่นยำลงใน[[ฟลาสก์วัดปริมาตร]] เติมตัวทำละลายบางส่วนแล้วเขย่าเพื่อให้สสารนั้นละลายเข้ากัน จากนั้นจึงเติมตัวทำละลายที่เหลือจนเต็มฟลาสก์
 
ถึงแม้ว่าความเข้มข้นโดยโมลจะเป็นการวัดความเข้มข้นที่พื้นฐานที่สุด โดยเฉพาะกับ[[สารละลายในน้ำ]]ที่เจือจาง แต่ก็อาจมีข้อเสียบางประการเช่น การใช้มวลที่ได้วัดบนตาชั่งจะคงที่แม่นยำมากกว่าการวัดปริมาตรโดยภาชนะ นอกจากนี้ความเข้มข้นโดยโมลจะเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิโดยไม่มีการเพิ่มหรือลดมวล เนื่องจากปริมาตรจะขยายหรือหดตัวเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง <ref>{{Citation
| author = Myron Kaufman
| title = Principles of thermodynamics
| page = 213
| publisher = [[CRC Press]]
| year = 2002
| url =
| doi =
| id =
| isbn = 0-8247-0692-7}}</ref> สำหรับสารละลายที่ไม่เจือจางจะเกิดอีกปัญหาหนึ่งคือ ปริมาตรโดยโมลของสสารเป็นฟังก์ชันของความเข้มข้น ดังนั้นปริมาตรจึงไม่สามารถบวกกันได้โดยตรง
 
== อ้างอิง ==