ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอมพลิจูด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
แอมปลิจูด ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น แอมพลิจูด: ศัพท์บัญญัติ
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "แอมปลิจูด" → "แอมพลิจูด" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Sine voltage.svg|thumb|กราฟซายน์<br />1 = Peak amplitude (<math>\scriptstyle\hat U</math>),<br />2 = [[Peak-to-peak]] amplitude (<math>\scriptstyle2\hat U</math>),<br />3 = [[Root mean square|RMS]] amplitude (<math>\scriptstyle\hat U/\sqrt{2}</math>),<br />4 = [[คาบ]]ของคลื่น (ไม่ใช่แอมปลิจูดแอมพลิจูด)]]
 
'''แอมปลิจูดแอมพลิจูด''' ({{lang-en|Amplitudeamplitude}}) คือ[[ขนาด (คณิตศาสตร์)|ขนาด]]ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจาก[[การแกว่งตัว]]ในระบบที่มีการแกว่ง ตัวอย่างเช่น [[คลื่นเสียง]] คือการแกว่งตัวของ[[แรงดัน]]ใน[[บรรยากาศ]] แอมปลิจูดแอมพลิจูดของมันคือการเปลี่ยนแปลงของแรงดันในแต่ละรอบ ถ้าการเปลี่ยนแปลงนี้อยู่ในคาบการแกว่งตัวปกติ จะสามารถวาดเส้นกราฟของระบบออกมาโดยให้ค่าการเปลี่ยนแปลงเป็นแกนตั้ง และเส้นเวลาเป็นแกนนอน แสดงให้เห็นภาพของแอมปลิจูดแอมพลิจูดเป็นการเปลี่ยนแปลงขนาดขึ้นลงในแนวดิ่งระหว่างจุดสูงสุดและจุดต่ำสุด
 
ในตำรายุคเก่าบางครั้งก็เรียกแอมปลิจูดแอมพลิจูดสับสนกับคำว่า [[เฟส]]<ref>{{Cite book | author1=Knopp, Konrad| author2= Bagemihl, Frederick | authorlink1=Konrad Knopp | title=Theory of Functions Parts I and II | date=1996 | publisher=Dover Publications | isbn=0-486-69219-1 | page=3}}</ref>
 
== หลักการของแอมปลิจูดแอมพลิจูด ==
=== แอมพลิจูดแบบพีคทูพีค ===
=== แอมปลิจูดแบบพีคทูพีค ===
แอมปลิจูดแบบพีคทูพีคแอมพลิจูดแบบพีคทูพีค (Peak-to-peak amplitude) คือการวัดค่าความเปลี่ยนแปลงจากจุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ทางด้านหนึ่งไปจนถึงจุดต่ำสุดการเคลื่อนที่ในอีกด้านหนึ่ง สามารถวัดได้จากมิเตอร์บางชนิดที่มีวงจรเหมาะสม หรือจากการดูรูปคลื่นบน[[ออสซิลโลสโคป]]
 
=== แอมปลิจูดแอมพลิจูดแบบอาร์เอ็มเอส ===
แอมปลิจูดแอมพลิจูดแบบอาร์เอ็มเอส (Root mean square (RMS) amplitude) ใช้มากในวิชา[[วิศวกรรมไฟฟ้า]] คือการหา[[รากที่สอง]]ของค่าเฉลี่ยของกำลังสองของขนาดการเคลื่อนที่แนวดิ่งในกราฟนับจากศูนย์ในช่วงเวลาหนึ่ง<ref>Department of Communicative Disorders, University of Wisconsin-Madison. ''[http://www.comdis.wisc.edu/vcd202/rms.html RMS Amplitude]''. เก็บข้อมูลเมื่อ 2008-08-22</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==