ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาริษา อมาตยกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
จาก เว็บบ้านคนรักสุนทราภรณ์
ย้อน 1 การแก้ไขของ 124.120.39.122 ด้วยสจห.: ย้อนละเมิดจาก http://www.websuntaraporn.com/suntaraporn/template/readtext.asp?HI
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''16 มีนาคม 2546 กองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ไทยโพสต์'''
'''มาริษา อมาตยกุล''' นักร้อง[[วงดนตรีสุนทราภรณ์|วงสุนทราภรณ์]] เกิดที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ [[22 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2482]] เรียนที่โรงเรียน[[สตรีวรนาถ]] และ[[สตรีวิทยา]] เคยรับราชการที่[[กรมยุทธการทหารเรือ]] ได้ยศจ่าตรี
 
ในปี 2501 เมื่อ[[กองทัพเรือไทย|กองทัพเรือ]]เล็งเห็นแววความสามารถ จึงส่งประกวดร้องเพลงในรายการไนติงเกลทางโทรทัศน์ช่อง 7 จนมีโอกาสได้พบกับ[[แก้ว อัจฉริยะกุล|ครูแก้ว อัจฉริยะกุล]] เพื่อนสนิทของ[[เอื้อ สุนทรสนาน|ครูเอื้อ สุนทรสนาน]] ครูแก้วจึงได้ชักชวนพร้อมนำไปฝากเข้า[[วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์]]ในโครงการ "ดาวรุ่งพรุ่งนี้" ร่วมกับ[[บุษยา รังสี]] และ[[อ้อย อัจฉรา]] ขณะที่ผู้ใหญ่ในกองทัพเรือคัดค้านด้วยความห่วงใย
ช่วงคาบเกี่ยว พ.ศ. 2500 แม้กระแสวัฒนธรรมดนตรีตะวันตกจะเริ่มเข้ามามีอิทธิพลในเมืองไทย แต่มนต์เสน่ห์แห่งเสียงเพลงอันบรรเจิดจากวงดนตรีสุนทราภรณ์ หรือวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ขณะนั้น ยังคงมีแฟนเพลงยึดเกาะเป็นกลุ่มก้อนเหนียวแน่น โดยมีนักร้องแม่เหล็กอย่าง รวงทอง ทองลั่นธม ภายใต้การควบคุมของหัวหน้าวงนาม ครูเอื้อ สุนทรสนาน
 
อย่างไรก็ตาม มาริษา อมาตยกุลก็มีผลงานที่สร้างชื่อเสียง จากเพลง "ริมฝั่งน้ำ" เมื่อมีการเปิดเพลงดังกล่าวตามสถานีวิทยุต่างๆ พร้อมๆ กันเพลง "น้ำตาดาว" ของ บุษยา รังสี และเพลง "สวัสดีบางกอก" ของ อ้อย อัจฉรา
ความที่เป็นแฟนเพลงสุนทราภรณ์ตัวยง "มาริษา อมาตยกุล" ลูกประดู่สาวแห่งกองทัพเรือไทย จึงมักชอบครวญเพลงขับกล่อมคลายเหงาในยามปฏิบัติหน้าที่และยามว่างเว้นภารกิจ เพราะทุกวินาทีในคราบเครื่องแบบทหารรั้วของชาติ มาริษาไม่เคยละทิ้งฝันแห่งความตั้งใจ อยากเป็นส่วนหนึ่งของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์
 
{{เกิดปี|2482}}
ความฝันของมาริษา อมาตยกุล มาเป็นความจริงในปี 2501 เมื่อทางกองทัพเรือเล็งเห็นแววความสามารถ จึงส่งเธอลงประกวดร้องเพลงในรายการไนติงเกลทางวิกช่องเจ็ด จนมีโอกาสได้พบกับครูแก้ว อัจฉริยะกุล เพื่อนสนิทของครูเอื้อ สุนทรสนาน ในขณะนั้น จึงได้ชักชวนพร้อมนำไปฝากเข้าวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ในโครงการ "ดาวรุ่งพรุ่งนี้" ร่วมกับบุษยา รังสี และอ้อย อัจฉรา ท่ามกลางเสียงคัดค้าน และความห่วงใยจากทางผู้ใหญ่แห่งกองทัพเรือ แต่แล้วมาริษา อมาตยกุล ก็พิสูจน์ให้เห็นถึงการตัดสินใจ ด้วยผลงานสร้างชื่อจากเพลง "ริมฝั่งน้ำ" ที่ตัวเธอขับกล่อมเริ่มโด่งดังตามสถานีวิทยุ เคียงคู่ไปพร้อมกับเพลง "น้ำตาดาว" ของ บุษยา รังสี และเพลง "สวัสดีบางกอก" ของ อ้อย อัจฉรา ตอกย้ำให้เห็นถึงความสำเร็จของโครงการสานต่อศิลปินเพลง "ดาวรุ่งพรุ่งนี้"
{{โครงชีวประวัติ}}
 
[[หมวดหมู่:นักร้องไทย]]
ด้วยสายใยแห่งวงดนตรีสังกัดกรมประชาสัมพันธ์ ของเหล่านักร้องรุ่นน้องรุ่นพี่ เช่น ศรีสุดา รัชตะวรรณ, วรนุช อารีย์, รวงทอง ทองลั่นธม ทำให้มาริษาได้เก็บเกี่ยวประสบการณ์งานเพลงทั้งในเวลางานราชการ และนอกเวลาจากงานแสดงของคณะสุนทราภรณ์ โดยมีปรมาจารย์อย่างครูเอื้อ สุนทรสนาน เฝ้าคอยบ่มเพาะ จนถึงลมหายใจเฮือกสุดท้ายของเอกองค์บรมครู เมื่อสิ้นเสาหลักครูเอื้อ เหล่าเพื่อนพ้องน้องพี่ ต่างอำลาชีวิตข้าราชการไปเสาะหาความท้าทายใหม่
[[หมวดหมู่:สุนทราภรณ์]]
 
[[หมวดหมู่:นักร้องเพลงลูกกรุง]]
มีเพียงมาริษา อมาตยกุล ที่ยังยืนยันจะขอรับใช้กรมประชาสัมพันธ์ จนได้ดำรงตำแหน่ง ผอ.ส่วนบริหารการดนตรีก่อนเกษียณอายุข้าราชการในปี 2542 กว่าสี่สิบเอ็ดปีที่มาริษารับใช้วงการเพลงและกรมประชาสัมพันธ์ เธอมีส่วนช่วยผลักดันทั้งเพลงไทยสากลและเพลงไทยเดิมสมบัติภูมิปัญญาคู่แผ่นดิน
{{โครงดนตรี}}
 
ด้วยการจัดคอนเสิร์ต "เสียงสวรรค์วันประชา" ที่เชื้อเชิญเหล่านักร้องรุ่นเก่าลายคราม อาทิ เพ็ญศรี พุ่มชูศรี, ศรีสุดา รัชตะวรรณ กลับคืนสู่เวที เพื่อหารายได้มอบให้ทายาทครอบครัวศิลปิน วินัย จุลละบุษปะ และครูเวส สุนทรจามร ถือเป็นความภาคภูมิใจส่วนหนึ่งที่เธอได้มีโอกาสช่วยเหลือพี่น้องศิลปิน และอยากจะฝากโครงการนี้ให้ทางกรมประชาสัมพันธ์ช่วยสานต่อ เพื่อกลุ่มศิลปินเพลงยุคเก่า
 
ทุกวันนี้ มาริษา อมาตยกุล แม้จะห่างหายจากเวทีร้องเพลง กินเงินบำนาญเพียงน้อยนิด โชคดีที่เธอยังมีความรู้ด้านตัดเย็บเสื้อผ้าสร้างแบบแพทเทิร์น จากครั้งที่เคยได้เล่าเรียนกับห้องเสื้อสปัน จึงทำเป็นธุรกิจร่วมกับลูกสาวหารายได้ค้ำจุนครอบครัว แต่กับบรรดาศิลปินเพลง เธอก็ยังคงจับกลุ่มก้อนกับพี่น้องนักร้องในแวดวงกรมประชาสัมพันธ์ จัดคอนเสิร์ตการกุศลช่วยเหลือสังคม อันเป็นการตอบแทนบุญคุณศาสตร์ทางดนตรี ที่นำพาชีวิตเธอมายืนอยู่ ณ จุดนี้ โดยเฉพาะช่วงชีวิตครั้งเป็นนักร้องอยู่ในคณะวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ภายใต้หัวหน้าวงชื่อครูเอื้อ สุนทรสนาน ผู้เฝ้าคอยประคบประหงมรังสรรค์งานดนตรีและปลุกปั้นศิลปิน
 
จนทำให้ครั้งหนึ่งในชีวิตของมาริษา อมาตยกุล ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้าเฝ้าแทบเบื้องพระยุคลบาท พร้อมกับวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ถือเป็นเกียรติอันสูงสุดในชีวิตศิลปินเพลงผู้หนึ่งพึงได้รับอย่างไม่รู้ลืม