ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กอปปีเลฟต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
สัญลักษณ์ของ copyleft เป็นตัวอักษรซี (c) หันหลังกลับ โดยไม่ได้มีความหมายอะไรเป็นพิเศษนอกจากการตรงกันข้ามกับ copy''right'' โดยล้อกับอีกความหมายหนึ่งของคำว่า right ที่แปลว่า ขวา
 
ในภาษาไทย ยังไม่มีคำที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปสำหรับ copyleft
เว็บไซต์[[สมเกียรติ ตั้งนโม นักวิชาการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน]]ของไทย ใช้คำภาษาไทยสำหรับก๊อปปี้เลฟต์ว่าว่า "ลิขซ้าย" คงการล้อ ขวา-ซ้าย ไว้<ref>ที่หน้าแรก [http://www.midnightuniv.org/ เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน] มีข้อความว่า "ลิขซ้าย 2548, 2549, 2550 : สมเกียรติ ตั้งนโม"</ref>
ส่วน สมชาย ปรีชาศิลปกุล อาจารย์นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใช้คำว่า "นิรสิทธิ์" หมายถึง ระบบที่ไม่มีหรือไม่ให้สิทธิคุ้มครอง<ref name="copyleft-somchai">[http://www.prachatai.com/05web/th/home/16202 รายงาน: จากลิขสิทธิ์ – สละสิทธิ์ – สู่ครีเอทีฟคอมมอนส์], ประชาไท, 5 เม.ย. 2552</ref>
 
== ประวัติ ==