ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมการของแมกซ์เวลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สังคายนาวิกิพีเดียไทยรอบ 2 +ต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาด +แทนที่ "Stub" → "{{โครงส่วน}}" ด้วย[[WP:iScript|
บรรทัด 1:
{{ต้องการหมวดหมู่}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''สมการของแมกซ์เวลล์''' ({{lang-en|Maxwell's equations}}) ประกอบด้วยสมการ 4 สมการ ตั้งชื่อตาม [[เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์]](James Clerk Maxwell) โดย [[โอลิเวอร์ เฮวิไซด์]] ([[:en:Oliver Heaviside|Oliver Heaviside]]) สมการทั้ง 4 นี้ใช้อธิบายถึงพฤติกรรมของ สนามไฟฟ้า และ สนามแม่เหล็ก รวมถึงปฏิกิริยาที่มีต่อสารต่างๆ
 
== รายละเอียดโดยย่อ ==
เส้น 9 ⟶ 10:
! รูป [[ปริพันธ์]]
|-
| style = "background:#cdcdcd;" colspan=2 | '''[[กฎของเกาส์]]''' ([[:en:Gauss's law|Gauss' law]]) :
|-
| width = 50% align="center"| <math>\nabla
abla \cdot \mathbf{D} = \rho </math>
| align = "center"| <math>\oint_S \mathbf{D} \cdot d\mathbf{A} = \int_V \rho \cdot dV</math>
|-
| style = "background:#cdcdcd;" colspan=2| '''[[กฎของเกาส์]]สำหรับสนามแม่เหล็ก''' (ความไม่มีอยู่ ของแม่เหล็กขั้วเดียว) ([[:en:magnetic monopole|magnetic monopole]]) :
|-
| align = "center"| <math>\nabla
abla \cdot \mathbf{B} = 0</math>
| align = "center"| <math>\oint_S \mathbf{B} \cdot d\mathbf{A} = 0</math>
|-
| style = "background:#cdcdcd;" colspan=2| '''[[กฎของฟาราเดย์ ]]''' ([[:en:Faraday's law of induction|Faraday's law of induction]]) :
|-
| align = "center"| <math>\nabla
abla \times \mathbf{E} = -\frac{\partial \mathbf{B}} {\partial t}</math>
| align = "center"| <math>\oint_C \mathbf{E} \cdot d\mathbf{l} = - \ { d \over dt } \int_S \mathbf{B} \cdot d\mathbf{A}</math>
|-
| style = "background:#cdcdcd;" colspan=2| '''[[กฎของแอมแปร์]]''' ([[:en:Ampère's law|Ampère's law + Maxwell's extension]]) :
|-
| align = "center"| <math>\nabla
abla \times \mathbf{H} = \mathbf{J} + \frac{\partial \mathbf{D}} {\partial t}</math>
| align = "center"| <math>\oint_C \mathbf{H} \cdot d\mathbf{l} = \int_S \mathbf{J} \cdot d \mathbf{A} + {d \over dt} \int_S \mathbf{D} \cdot d \mathbf{A}</math>
|}
 
[[ภาพไฟล์:Open_surface.png|right|150px]]
[[ภาพไฟล์:Closed_surface.png|right|150px]]
 
กฎของเกาส์สำหรับสนามแม่เหล็ก (โดยความเป็นจริงเราไม่มีชื่อให้สำหรับกฎข้อนี้) : บอกได้ว่าในชีวิตประจำวันเราจะไม่พบแม่เหล็กซึ่งมีขั้วแยกจากกันโดยชัดเจน นั่นคือเราจะไม่พบแม่เหล็กที่มีขั้วเหนือเพียงขั้วเดียวหรือแม่เหล็กที่มีขั้วใต้เพียงขั้วเดียว
 
Faraday's Law : สามารถอธิบายจากสมการได้ว่า "สนามไฟฟ้าเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กในหนึ่งหน่วยเวลาและจะเกิดในทิศหมุนวน (สังเกตจาก operator curl)" ซึ่งจากความรู้เบื้องต้นเราทราบมาว่าสนามไฟฟ้าเกิดจากประจุอิสระ แต่จาก Faraday's Law บอกได้ว่าสนามไฟฟ้าสามารถเกิดจากสนามแม่เหล็กได้เช่นกันแต่ต้องเป็นสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาเท่านั้น (ถ้าสนามแม่เหล็กไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลาก็จะไม่เกิดสนามไฟฟ้า)
 
Ampere's Law : สมการรูปนี้เป็นสมการที่ Generalized แล้วโดย Maxwell's อธิบายจากสมการได้คือ "สนามแม่เหล็กเกิดได้จากกระแสไฟฟ้าหรือสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลาโดยจะเกิดในทิศหมุนวนเช่นกัน" นั่นคือสนามแม่เหล็กเกิดได้จากกระแสไฟฟ้าที่คงที่หรือเกิดได้จากสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (ถ้าสนามไฟฟ้าไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลาก็จะไม่เกิดสนามแม่เหล็ก)
โดยที่:
 
เส้น 85 ⟶ 90:
และ
 
: <math>
: <math>\nablaabla \cdot</math> คือ ตัวดำเนินการ [[ไดเวอร์เจนซ์]] (หน่วย SI: 1 ต่อ เมตร)
 
: <math>
: <math>\nablaabla \times</math> คือ ตัวดำเนินการ [[เคิร์ล]] (หน่วย SI: 1 ต่อ เมตร)
 
=== ความสัมพันธ์ตามคุณสมบัติของเนื้อสาร (constitutive relationships) ===
ความสัมพันธ์ตามคุณสมบัติของเนื้อสาร หรือ "constitutive relationships" ใช้ในการแสดงถึงพฤติกรรมความสัมพันธ์ของค่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในเนื้อสารตัวกลาง ในระดับใหญ่ (macroscopic) ซึ่งเป็นการพิจารณาพฤติกรรมโดยเฉลี่ยของสนาม ในสารตัวกลางที่มีปรมาตรที่ใหญ่กว่าขนาดของอะตอม และโมเลกุล โดยความสัมพันธ์นี้จะอยู่ในรูป
: <math> \mathbf{D} = \mathbf{D} ( \mathbf{E},\mathbf{H} ) </math>
: <math> \mathbf{B} = \mathbf{B} ( \mathbf{E},\mathbf{H} ) </math>
เส้น 114 ⟶ 121:
'''ไอโซโทรปิค/แอนไอโซโทรปิค''' (isotropic/anisotropic) : สารที่มีคุณสมบัติไอโซโทรปิค ค่าคุณสมบัติจะไม่ขึ้นกับทิศทางของสนามที่กระทำกับเนื้อสาร ในสารที่มีคุณสมบัติแอนไอโซโทรปิคนั้น ค่าคุณสมบัติจะเขียนอยู่ในรูป เทนเซอร์อันดับ 2 ในสามมิติ (เมทริกซ์ ขนาด3×3)
 
== Guage Invariant ==
{{โครงฟิสิกส์ส่วน}}
Stub
== Vector Potential ==
{{โครงส่วน}}
Stub
== Lagrangian ==
Action ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยไม่มี source นั้นเขียนได้ดังนี้
:<math>S=-\frac{1}{4}\int d^3x F^{\mu \nu
u} F_{\mu \nu
u}</math>
โดยที่
:<math>F^{\mu \nu
u} = \partial^\mu A^\nu
u - \partial^\nu
u A^\mu</math>
Euler-Lagrange Equation ของ Action นี้คือ [[Guass's Law]] และ [[Faraday's Law]]
:<math>\partial_\nu
u F^{\mu \nu
u} = 0</math>
สมการของ maxwell อีกสองสมการสามารถหาได้จาก [[Bianchi identity]].
 
{{โครงฟิสิกส์}}
 
[[af:Maxwell se vergelykings]]