ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 3 ประโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[ภาพไฟล์:พัดยศเปรียญธรรม ๓ ประโยค.jpg|thumb|พัดยศเปรียญธรรม ๓ ประโยค]]
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:พัดยศเปรียญธรรม ๓ ประโยค.jpg|thumb|พัดยศเปรียญธรรม ๓ ประโยค]]
 
'''เปรียญธรรม ๓ ประโยค''' '' (ชื่อย่อ ป.ธ.๓) '' เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียก[[พระภิกษุ]]ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า '''"[[พระมหา]]"''' และ[[สามเณร]]ว่า '''"[[สามเณรเปรียญ]]"''' [[กระทรวงศึกษาธิการ]]เทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่า[[มัธยมศึกษาตอนต้น]]<ref>[http://www.ago.go.th/interest_law/sub/sub1/sub1_55.html พระราชบัญญัติกำหนดวิทยฐานะผู้สำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๗]</ref> คณะสงฆ์เคยมีการขอให้ปรับวุฒิผู้สอบไล่ได้ชั้นนี้ให้เทียบเท่าระดับ[[ปริญญาตรี]] แต่ไม่ได้รับการตอบรับจากผู้เกี่ยวข้อง แต่เปรียญธรรม ๓ ประโยค ก็ยังเป็นที่นับถือกันโดยพฤตินัยในวงการคณะสงฆ์ไทยว่าผู้สอบได้ในชั้นนี้เป็น "ปริญญาตรี" ของฝ่ายคณะสงฆ์ หรือเปรียบได้กับคฤหัสถ์ผู้สอบไล่ได้ปริญญาบัณฑิตของฝ่ายฆราวาส '' (ปริญญาตรี) '' โดยผู้สอบได้ในชั้นนี้จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จาก[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ]] โปรดฯ ทรงตั้งให้เป็น[[เปรียญ]] ได้รับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดเปรียญธรรม ๓ ประโยค
เส้น 22 ⟶ 21:
 
==== การศึกษาวิชาแปลมคธเป็นไทย ====
[[ภาพไฟล์:ธมฺมปทฏฐกถา สตฺตโม ภาโค.jpg|thumb|ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี "ธมฺมปทฏฐกถา สตฺตโม ภาโค" ''' หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค ป.ธ. ๓''' และ วิชาแต่งไทยเป็นมคธในชั้น เปรียญธรรม ๖ ประโยค]]
 
ใช้หนังสืออรรถกถาธรรมบท 4 เล่ม คือ
เส้น 47 ⟶ 46:
=== วิชาสัมพันธ์ไทย ===
 
{{โครง-ส่วน}}
 
==== การศึกษาวิชาสัมพันธ์ไทย ====
เส้น 71 ⟶ 70:
== ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค ==
 
[[ภาพไฟล์:ตั้งเปรียญ3.jpg|thumb|ในปัจจุบัน [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] จะทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้[[สมเด็จพระสังฆราช]] และเจ้าคณะใหญ่หนต่าง ๆ เป็นผู้แทนพระองค์ ในการประกอบพิธีทรงตั้ง[[เปรียญ]][[ธรรม]][[พระภิกษุ]]และ[[สามเณร]]ผู้สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยคแทน]]
 
[[พระภิกษุ]][[สามเณร]]ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้จะได้รับประกาศนียบัตร พระราชทาน[[พัดยศ]]เปรียญธรรม ทรงตั้งเป็น "เปรียญ" เมื่อผ่านการทรงตั้งแล้วถ้าเป็นพระภิกษุจะมีสิทธิ์ใช้คำนำหน้าชื่อว่า '''"[[พระมหา]]"''' ถ้าเป็น[[สามเณร]] สามารถใช้คำต่อท้าย[[นามสกุล]]ว่า '''"[[เปรียญ]]."'''
เส้น 86 ⟶ 85:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<references />
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 93 ⟶ 92:
{{หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี}}
 
[[หมวดหมู่:ระดับชั้นเปรียญธรรม|3]]
[[หมวดหมู่:ภาษาบาลี]]
[[หมวดหมู่:การศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย]]