ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปากแหว่งเพดานโหว่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 49:
'''เพดานโหว่''' เป็นภาวะที่แผ่นกระดูกของ[[กะโหลกศีรษะ]] 2 แผ่นไม่เชื่อมกันเป็น[[เพดานแข็ง]] อาจมีช่องโหว่ของ[[เพดานอ่อน]]ได้ด้วยเช่นกัน ผู้ป่วยส่วนมากมักมีปากแหว่งร่วมด้วย เพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิดมีชีพ 700 คนทั่วโลก<ref>{{cite web |url=http://www.wrongdiagnosis.com/c/cleft_palate/stats-country.htm |title=Statistics by country for cleft palate |accessdate=2007-04-24 |work=WrongDiagnosis.com }}</ref>
 
เพดานโหว่แบ่งออกเป็นชนิดสมบูรณ์ (คือมีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อน บางครั้งอาจมีที่ขากรรไกรด้วย) หรือชนิดไม่สมบูรณ์ (คือมีช่องอยู่ที่เพดานปาก มักเป็นที่เพดานอ่อน) ผู้ป่วยเพดานโหว่มักมี[[ลิ้นไก่]]แฉก เพดานโหว่มีสาเหตุมาจากความบกพร่องของการเชื่อมของ[[ส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง]] (lateral palatine processes), [[ผนังกลางจมูก]] (nasal septum), และ/หรือ[[ส่วนยื่นเพดานปากกลาง]] (median palatine processes) เพื่อเป็น[[เพดานปากทุติยภูมิ]]
Palate cleft can occur as complete (soft and hard palate, possibly including a gap in the jaw) or incomplete (a 'hole' in the roof of the mouth, usually as a cleft soft palate). When cleft palate occurs, the [[Palatine uvula|uvula]] is usually split. It occurs due to the failure of fusion of the lateral palatine processes, the nasal septum, and/or the median palatine processes (formation of the [[secondary palate]]).
 
The hole in the roof of the mouth caused by a cleft connects the mouth directly to the [[nasal cavity]].