ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คตินิยมเส้นกั้นสี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
[[ไฟล์:Gauguin Il Cristo giallo.jpg|thumb|260px|“[[พระเยซูเหลือง (โกแกง)|พระเยซูเหลือง]]” ค.ศ. 1889, สีน้ำมันบนผ้าใบ]]
'''ลัทธิคลัวซอนนิสม์''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: {{lang-en|'''Cloisonnism'''}}) เป็นลักษณะการเขียนภาพของ[[ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลัง]]ที่เด่นและราบ (bold และ flat) ที่แยกจากสิ่งแวดล้อมด้วยขอบสีหนัก เป็นคำที่นักวิจารณ์[[เอดวด ดูจาแดง]] (Edouard Dujardin) เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1888<ref>Dujardin, Édouard: ''Aux XX et aux Indépendants: le Cloisonismé'' (sic!), Revue indépendante, Paris, March 1888, pp. 487-492</ref> ศิลปินเช่น[[อีมิล เบอร์นาร์ด]] (Émile Bernard), [[หลุยส์ อันเคแตน]] (Louis Anquetin), [[พอล โกแกง]] และคนอื่นๆ ใช้วิธีการเขียนเช่นว่าในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า “[[คลัวซอนเน]]” (cloisonné) หมายถึงเท็คนิคในการใช้ลวดเชื่อมชิ้นต่างๆ ของฝุ่นแก้วเข้าด้วยกันก่อนที่จะเผา
 
“พระเยซูเหลือง” (Le Christ jaune) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1889 ถือกันว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของงานเขียนแบบคลัวซอนนิสม์ [[พอล โกแกง]]ลดบริเวณต่างในภาพลงมาเหลือเพียงสีเหลืองโดยแยกพระเยซูออกมาด้วยขอบสีดำหนัก งานลักษณะนี้เกือบจะไม่ให้ความสนใจในทฤษฎี[[การเขียนภาพแบบทัศนียภาพ]]ที่เคยทำกันมาและลบการลดหลั่นของสีต่างๆ ในภาพจนแบนราบ —ซึ่งเป็นสองลักษณะที่เด่นของการเขียนภาพแบบ[[เรอเนซองส์]]สมัยหลัง