ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐบัญญัติมอบอำนาจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''บัญญัติการให้อำนาจ''' ({{lang-en|Enabling Act}}; {{lang-de|Ermächtigungsgesetz}}) มีชื่ออย่างเป็นท…
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 102-14439, Rede Adolf Hitlers zum Ermächtigungsgesetz.jpg|thumb|right|250px|ฮิตเลอร์ปราศรัยต่อรัฐสภาไรซ์ตาร์ก]]
 
'''บัญญัติการให้อำนาจ''' ({{lang-en|Enabling Act}}; {{lang-de|Ermächtigungsgesetz}}) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''กฎหมายเพื่อเยียวยาความยากลำบากของประชาชนและชาติ''' ({{lang-de|Gesetz zur Behebung der Not von Volk und Reich}}) เป็นกฎหมายที่ผ่านโดยรัฐสภาไรซ์ตาร์กแห่งเยอรมนี และได้รับการลงนามจากประธานาธิบดีฮินเดนเบิร์กในวันที่ [[23 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1933]] ซึ่งเป็นการมอบอำนาจเต็มบริบูรณ์และขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น[[ฟือเรอร์]] ผลจากบัญญัติดังกล่าวเป็นการอนุญาตให้คณะรัฐมนตรีสามารถผ่านกฎหมายได้โดยไม่ต้องผ่านรัฐสภาไรซ์ตาร์กเป็นเวลาสี่ปี
 
== เบื้องหลัง ==
 
หลังจากการประกาศใช้[[กฤษฎีกาว่าด้วยเพลิงไหม้รัฐสภาไรซ์ตาร์ก]] ฮิตเลอร์ได้ใช้ข้ออ้างดังกล่าวในการจับกุมผู้นำของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี นับเป็นการกำจัดบทบาททางการเมืองออกไปอย่างสิ้นเชิง
 
ถึงแม้ว่าพรรคนาซีจะได้รับคะแนนเสียงกว่าห้าล้านคะแนนในการเลือกตั้งที่ผ่านมา แต่พรรคนาซีก็ไม่อาจเป็นพรรคที่ครองเสียงข้างมากในรัฐสภาไรซ์ตาร์กได้ โดยอีกห้าสิบสองที่นั่งเป็นของพรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน ซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาล ฮิตเลอร์ได้เรียกประชุมกับคณะรัฐมนตรีของเขาในวันที่ [[15 มีนาคม]] เพื่อร่างบัญญัติการให้อำนาจ ซึ่งพรรคนาซีจะอาศัยอำนาจดังกล่าวเพื่อจะได้มาซึ่งอำนาจทางการเมืองอย่างสมบูรณ์โดยไม่จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากวุฒิสภา และไม่จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือกับพรรคร่วมรัฐบาลอีกต่อไป
 
=== การเตรียมการและการเจรจา ===
 
== ผลที่ตามมา ==
 
{{โครงกฎหมาย}}