ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วารสารวิชาการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ka:სამეცნიერო ჟურნალი
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ภาพ:Journalcovers1.jpg|right|thumb|วารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์นับเป็นวาสารวิชาการสาขาหนึ่ง]]
 
[[ภาพไฟล์:Journalcovers1.jpg|right|thumb|วารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์นับเป็นวาสารวิชาการสาขาหนึ่ง]]
'''วารสารวิชาการ''' (academic journal) หมายถึง[[วารสาร]]ที่ตีพิมพ์เป็นระยะอย่างสมำเสมอและจะต้องผ่าน''การตรวจคุณภาพบทความ''โดยผู้รู้ในสาขาวิชานั้นๆ หรือที่เรียกวารสารประเภทนี้เป็นการเฉพาะว่า[[วารสารผ่านการทบทวน]] ([[:en:peer-reviewed periodical|peer-reviewed periodical]]) วารสารวิชาการเป็นเวทีสำหรับการแนะนำและนำเสนอผลงานค้นคว้าวิจัยใหม่หรือความเห็นทางวิชาการใหม่ๆ เพื่อรับการตรวจสอบและการวิพากษ์วิจารณ์ในหมู่ผู้รู้ด้วยกัน ปกติเนื้อหาสาระในวารสารจะอยู่ในรูปของบทความเสนอ ''[[งานวิจัยที่มีความเริ่มแรก]]'' ([[:en:original research|original research]]) ''บทปริทัศน์'' และ''การวิจารณ์หนังสือ'' งานตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพที่ไม่มีการตรวจรับคุณภาพเรียกโดยทั่วไปว่า ''นิตยสารวิชาชีพ'' (professional magazine)
 
'''วารสารวิชาการ''' (academic journal) หมายถึง[[วารสาร]]ที่ตีพิมพ์เป็นระยะอย่างสมำเสมอและจะต้องผ่าน''การตรวจคุณภาพบทความ''โดยผู้รู้ในสาขาวิชานั้นๆ หรือที่เรียกวารสารประเภทนี้เป็นการเฉพาะว่า[[วารสารผ่านการทบทวน]] ([[:en:peer-reviewed periodical|peer-reviewed periodical]]) วารสารวิชาการเป็นเวทีสำหรับการแนะนำและนำเสนอผลงานค้นคว้าวิจัยใหม่หรือความเห็นทางวิชาการใหม่ๆ เพื่อรับการตรวจสอบและการวิพากษ์วิจารณ์ในหมู่ผู้รู้ด้วยกัน ปกติเนื้อหาสาระในวารสารจะอยู่ในรูปของบทความเสนอ ''[[งานวิจัยที่มีความเริ่มแรก]]'' ([[:en:original research|original research]]) ''บทปริทัศน์'' และ''การวิจารณ์หนังสือ'' งานตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพที่ไม่มีการตรวจรับคุณภาพเรียกโดยทั่วไปว่า ''นิตยสารวิชาชีพ'' (professional magazine)
 
คำ '''วารสารวิชาการ''' ใช้กับสิ่งตีพิมพ์วิชาการทุกสาขา วารสารเหล่านี้อภิปรายถึงแง่มุมต่างๆ ในเชิงวิชาการของสาขานั้นๆ
บรรทัด 16:
 
== บทปริทัศน์ (Review articles) ==
องค์ประกอบสำคัญของ[['''วารสารวิชาการ]]'''อีกองค์หนึ่งได้แก่ "'''บทปริทัศน์'''" ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า "'''บทปริทัศน์ก้าวหน้า'''" (rewiews of progress) ถือเป็นการตรวจสอบบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างๆ วารสารวิชาการบางฉบับอุทิศเนื้อที่เกือบทั้งหมดในวารสารสำหรับบทปริทัศน์ บางฉบับก็มีบทปริทัศน์เป็นส่วนน้อย แต่วารสารวิชาการจำนวนไม่น้อยที่ไม่มีบทปริทัศน์ บทปริทัศน์ส่วนใหญ่ทบทวนงานวิจัยที่เพิ่งลงในวารสารฉบับก่อนๆ บางฉบับอาจทบทวนบทความวิจัยที่ลงเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้วก็ได้ บางฉบับจะลงบทปริทัศน์เฉพาะเรื่อง บางฉบับลงอย่างกว้างๆ มีหลายฉบับที่ตีพิมพ์บทปริทัศน์เป็นชุด แต่ละชุดลงบทปริทัศน์ของวิชาหนึ่งๆ เป็นรายปี บางฉบับมากกว่า 1 ปี
 
'''บทปริทัศน์'''แตกต่างกับบทความวิจัยที่มักเป็นการเชื้อเชิญผู้เขียนให้เขียนมาลงในวารสาร บางบางฉบับมีการเตรียมการวางแผนการลงบทปริทัศน์ล่วงหน้าเป็นรายปี ผู้เขียนบทปริทัศน์อาจได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินก็ได้
บรรทัด 24:
 
== เกียรติภูมิ ==
[[ภาพไฟล์:Research Journals1.jpg|right|280px|thumb|วารสารวิจัยประเภทต่างของต่างประเทศที่มี[[การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน]]]]
 
'''เกียรติภูมิ''' หรือชื่อเสียงของวารสารวิชาการแต่ละวารสารได้มาด้วยเวลาที่ยาวนานและด้วยปัจจัยสะท้อนหลายอย่าง บางวารสาร แต่ไม่ใช่ทั้งหมดที่สามารถสะท้อนเกียรติภูมิได้ด้วยเชิงปริมาณ ในแต่ละสาขาวิชาการมักจะมีวารสารที่โดดเด่นอยู่ท่ามกลางวารสารวิชาการอื่นๆ ในสาขาเดียวกัน ซึ่งบ่งชี้โดยจำนวนผู้ยื่นบทความเพื่อขอให้พิจารณาตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก ซึ่งมีผลทำให้วารสารฉบับนี้มีบทความดีๆ มาให้ตรวจสอบและคัดสรรเชิงคุณภาพได้มากกว่าวารสารฉบับอื่น แต่ไม่แน่เสมอไปที่วารสารวิชาการขนาดใหญ่ที่สุดดังกล่าวจะได้รับการยอมรับว่าดีที่สุด ตัวอย่างเช่นในวงการวิชาการ[[ประวัติศาสตร์]]ของ[[สหรัฐ]]ฯ ซึ่งมีวารสารขนาดใหญ่ที่โดดเด่นอยู่ 2 ฉบับ คือ "ประวัติศาสตร์อเมริกันปริทัศน์" ([[:en:American Historical ReviewฅAmerican Historical Review]]) และ "วารสารประวัติศาสตร์อเมริกัน" ([[:en:Journal of American History|Journal of American History]]) และมีวารสารวิชาการประวัติศาสตร์เฉพาะเรื่องที่ผ่าน[[การตรวจสอบโดยผู้รู้เสมอ]]อีกนับสิบฉบับที่เจาะลึกเน้นตามช่วงเวลาหนึ่งของประวัติศาสตร์ เน้นตามลักษณะเนื้อหา เช่น เฉพาะประวัติศาสตร์สงคราม หรือเน้นตามภูมิภาค ซึ่งวารสารวิชาการเหล่านี้ แม้จะเล็กและแคบ แต่ก็ได้รับการยอมรับในคุณภาพว่าอยู่ในระดับสูงมากไม่แพ้วารสารประวัติศาสตร์โดยรวมขนาดใหญ่ดังกล่าว
บรรทัด 39:
 
== อ้างอิง ==
* Waller, A.C. ''Editorial Peer Review Its Strengths and Weaknesses'' ASIST monograph series. Information Today, 2001. ISBN 1573871001.
* Nisa Bakkalbasi, Kathleen Bauer, Janis Glover and Lei Wang ''[http://www.bio-diglib.com/content/3/1/7 Three options for citation tracking: Google Scholar, Scopus and Web of Science]'' Biomedical Digital Libraries 2006, 3:7 doi:10.1186/1742-5581-3-7
* Deis et al. "Update on Scopus and Web of Science [http://www.charlestonco.com/comp.cfm?id=59 Charleston Advisor]
 
== ดูเพิ่ม ==