ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนนราธิวาสราชนครินทร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
บรรทัด 1:
'''ถนนนราธิวาสราชนครินทร์''' ({{lang-en|Thanon Naradhiwas Rajanagarindra}})''' เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่[[เขตบางรัก]] [[เขตสาทร]] และ[[เขตยานนาวา]] [[กรุงเทพมหานคร]] ลักษณะเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 8 ช่องจราจร ความกว้าง 60 เมตร ระยะทาง 5.115 กิโลเมตร เริ่มจาก[[ถนนสุรวงศ์]]ในพื้นที่แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้พร้อมกับเลียบ[[คลองช่องนนทรี]] ตัดกับ[[ถนนสีลม]]เข้าพื้นที่แขวงสีลม ตัดกับ[[ถนนสาทร]]เข้าพื้นที่เขตสาทร โดยฝั่งซอยเลขคี่เป็นท้องที่ของแขวงทุ่งมหาเมฆ ส่วนฝั่งซอยเลขคู่เป็นท้องที่แขวงยานนาวา จนถึงปากซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 8 (อาคารสงเคราะห์ 6) จึงเข้าท้องที่แขวงทุ่งวัดดอน ตัดกับ[[ถนนจันทน์]] เฉพาะฝั่งซอยเลขคู่เข้าสู่ท้องที่แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา ส่วนฝั่งซอยเลขคี่ยังอยู่ในท้องที่แขวงทุ่งมหาเมฆจนกระทั่งตัดกับ[[ถนนจันทน์เก่า]] จากนั้นตัดกับ[[ถนนรัชดาภิเษก]] และไปบรรจบกับ[[ถนนพระรามที่ 3]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (Thanon Naradhiwas Rajanagarindra)''' เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่[[เขตบางรัก]] [[เขตสาทร]] และ[[เขตยานนาวา]] [[กรุงเทพมหานคร]] ลักษณะเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 8 ช่องจราจร ความกว้าง 60 เมตร ระยะทาง 5.115 กิโลเมตร เริ่มจาก[[ถนนสุรวงศ์]]ในพื้นที่แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้พร้อมกับเลียบ[[คลองช่องนนทรี]] ตัดกับ[[ถนนสีลม]]เข้าพื้นที่แขวงสีลม ตัดกับ[[ถนนสาทร]]เข้าพื้นที่เขตสาทร โดยฝั่งซอยเลขคี่เป็นท้องที่ของแขวงทุ่งมหาเมฆ ส่วนฝั่งซอยเลขคู่เป็นท้องที่แขวงยานนาวา จนถึงปากซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 8 (อาคารสงเคราะห์ 6) จึงเข้าท้องที่แขวงทุ่งวัดดอน ตัดกับ[[ถนนจันทน์]] เฉพาะฝั่งซอยเลขคู่เข้าสู่ท้องที่แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา ส่วนฝั่งซอยเลขคี่ยังอยู่ในท้องที่แขวงทุ่งมหาเมฆจนกระทั่งตัดกับ[[ถนนจันทน์เก่า]] จากนั้นตัดกับ[[ถนนรัชดาภิเษก]] และไปบรรจบกับ[[ถนนพระรามที่ 3]]
 
ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ตัดขึ้นตามโครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำและถนนเลียบคลองช่องนนทรี ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานครฉบับที่ 4 ([[พ.ศ. 2535]]-[[พ.ศ. 2539|2539]]) เมื่อสร้างแล้วเสร็จถนนสายนี้ยังไม่มีชื่อทางการ ดังนั้น เพื่อความสะดวกแก่ประชาชนที่สัญจรไปมา เพื่อความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ตลอดจนหน่วยงานราชการต่าง ๆ และเพื่อเทิดพระเกียรติ[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]<ref>[http://www.hrh84yrs.org/s52_call_road.htm ถนนนราธิวาสราชนครินทร์] จากเว็บไซต์โครงการเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์</ref> กรุงเทพมหานครจึงได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเชิญพระนามของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ มาเป็นนามถนนอย่างเป็นทางการว่า '''ถนนนราธิวาสราชนครินทร์''' ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตเมื่อปี พ.ศ. 2539<ref>กนกวลี ชูชัยยะ. '''พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม.''' พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 142.</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<references />
 
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตบางรัก|นราธิวาสราชนครินทร์]]
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตยานนาวา|นราธิวาสราชนครินทร์]]
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตสาทร|นราธิวาสราชนครินทร์]]
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร|นราธิวาสราชนครินทร์]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย ]]
{{โครงคมนาคม}}