ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อภิชัย พันธเสน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Apichai_Puntasen.jpg‎ |thumb|200px|ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน ]]
{{ลบ|ไม่ต้องการให้มีบทความนี้}}
{{ใคร}}
{{เรซูเม}}
[[ไฟล์:Apichai_Puntasen.jpg‎ |thumb|200px|ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน ]]
 
'''[[ศาสตราจารย์]] ดร.อภิชัย พันธเสน''' (เกิด ?) คณบดีคณะบริหารศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]] และผู้อำนวยการ[[สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม]] (Rural And Social Management Institute: RASMI) ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Foundation for Thailand Rural Reconstruction Movement Under Royal Patronage: TRRM) รวมทั้งยังร่วมเป็นคณะอนุกรรมการ[[เศรษฐกิจพอเพียง|ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง]]อีกด้วย
 
ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน[[เศรษฐกิจพอเพียง|ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง]]ให้เป็นรูปธรรมทั้งในเชิงวิชาการและเชิงปฏบัติ <ref>[http://www.bus.ubu.ac.th/php/Bus_Information/news/view.php?topic=198/ บทสัมภาษณ์ เศรฐกิจพอเพียง ศ.ดร. อภิชัย พันธเสน โดยคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]</ref> <ref>[http://www.isranews.org/community/index.php?option=com_content&task=view&id=173&Itemid=9/ "อภิชัย พันธเสน" นักพุทธเศรษฐศาสตร์ มองเศรษฐกิจชุมชน 52 "ใช้ความพอเบรกเงิน-ทรัพยากรไม่ให้ไหลออก"] วันจันทร์ที่ 19 มกราคม 2009</ref> <ref>[http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006november27p4.htm เปิดมุมมอง "อภิชัย พันธเสน" "เศรษฐกิจพอเพียง" ฤๅแฟชั่นใหม่ 1 ปีคนไทยเข้าถึงแก่นไม่ถึง 10%] สัมภาษณ์พิเศษ ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3848 (3048) </ref> โดยผลงานทางวิชาการต่างๆของอาจารย์ ได้ถูกหยิบยกไปใช้ในการอ้างอิงเพื่อการศึกษา และนำไปเป็นฐานในการประยุกต์ใช้และส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ชนบท{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานที่เกี่ยวข้องกับ[[พุทธเศรษฐศาสตร์]]และ[[เศรษฐกิจพอเพียง]] ซึ่งเป็นผลงานที่เปลี่ยนโฉมหน้าการศึกษาทางด้านวิชาการเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย ดังข้อความตอนท้ายช่วงหนึ่งใน[[โมทนพจน์]]ของ[[พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)]] ในหนังสือ พุทธเศรษฐศาสตร์ : วิวัฒนาการ ทฤษฎีและการประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่างๆ ที่ว่า
 
{{คำพูด| ขออนุโมทนากุศลเจตนา พร้อมทั้งฉันทะและความเพียรพยายามของ ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน ที่ได้สร้างความก้าวหน้าทางวิชาการด้วยการทำงานวิจัยครั้งนี้ ซึ่งเป็นการก้าวออกมาช่วยกันหาทางออกทางปัญญาให้แก่วงวิชาการ ในการแก้ปัญหาร่วมกันของมนุษยชาติ เป็นก้าวใหม่ในวงการเศรษฐศาสตร์ โดยการริเริ่มของนักเศรษฐศาสตร์ไทย...}}
 
== การศึกษา ==
ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีจาก คณะ[[คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|คณะเศรษฐศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] (พ.ศ. 2505) จากนั้นเดินทางไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทและเอก ทางด้านเศรษฐศาสตร์ ที่[[มหาวิทยาลัยแวนเดอร์บิลท์เดอร์บิลต์]]ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2510 และ พ.ศ. 2516 ตามลำดับ
 
== ประสบการณ์การทำงาน ==
* พ.ศ. 2517 - 2518 กรรมการวางพื้นฐานการปฏิรูปการศึกษา
* พ.ศ. 2519 - 2520 อาจารย์รับเชิญภาควิชา[[ประวัติศาสตร์]]เศรษฐกิจ [[มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น]] [[ประเทศออสเตรเลีย]]
 
* พ.ศ. 25192520 - 25202527 อาจารย์รับเชิญภาควิชา[[ประวัติศาสตร์]]เศรษฐกิจนักวิจัยประจำสถาบันวิจัยเศรษฐศาสตร์และสังคมประยุกต์ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศ[[ออสเตรเลีย]]
* พ.ศ. 2531 - นักวิจัยรับเชิญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟรียูนิเวอร์ซิตี้แห่งนคร[[เบอร์ลิน]] ประเทศ[[ประเทศเยอรมนี]]
 
* พ.ศ. 25202535 - 2527 นักวิจัยประจำสถาบันรับเชิญ ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์และสังคมประยุกต์นานาชาติ[[วนศาสตร์]]เขตร้อน คณะ[[เกษตรศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยเมลเบิร์นโตเกียว]] [[ประเทศออสเตรเลียญี่ปุ่น]]
* พ.ศ. 2537 - 2538 ศาสตราจารย์รับเชิญ [[มหาวิทยาลัยฮิโรชิมา]] ประเทศญี่ปุ่น
 
* พ.ศ. 2542 - ศาสตราจารย์รับเชิญ ศูนย์ศึกษาเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ [[มหาวิทยาลัยลุนด์]] ประเทศ[[ประเทศสวีเดน]]
*พ.ศ. 2531 - นักวิจัยรับเชิญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟรียูนิเวอร์ซิตี้แห่งนครเบอร์ลิน ประเทศ[[เยอรมนี]]
* พ.ศ. 2544 - ศาสตราจารย์ระดับ 11 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอกสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
* พ.ศ. 2545 - [[กีรตยาจารย์]] วิชา[[สังคมศาสตร์]] มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
*พ.ศ. 2535 - นักวิจัยรับเชิญ ศูนย์วิจัยนานาชาติ[[วนศาสตร์]]เขตร้อน คณะ[[เกษตรศาสตร์]] มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศ[[ญี่ปุ่น]]
 
*พ.ศ. 2537 - 2538 ศาสตราจารย์รับเชิญ มหาวิทยาลัยฮิโรชิมา ประเทศญี่ปุ่น
 
*พ.ศ. 2542 - ศาสตราจารย์รับเชิญ ศูนย์ศึกษาเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยลุนด์ ประเทศ[[สวีเดน]]
 
*พ.ศ. 2544 - ศาสตราจารย์ระดับ 11 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอกสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
*พ.ศ. 2545 - [[กีรตยาจารย์]] วิชา[[สังคมศาสตร์]] มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
== ตำราและงานวิจัย ==
*ตำรา : พัฒนาชนบทไทย : [[สมุทัย]]และ[[มรรค]] (3 เล่ม) ได้รับการสนับสนุนจาก[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย]] (สกว.)
 
* การศึกษาปฏิรูป หรือปฏิวัติ (2518)
*จัดการอย่างไรจึงจะได้ป่า
* การศึกษากับการมีงานทำ (2528)
* การเตรียมอุดมศึกษา เพื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมที่พึงปรารถนา (2532)
* ค่าแรงต่ำ (2532)
* การศึกษาแบบจำลองพฤติกรรมของครัวเรือนในประเทศไทย (2537)
* ปฏิรูปภาคราชการเพื่ออนาคตของไทย ภาคการประชุมที่ 1 ภาคราชการกับอนาคตการพัฒนาประเทศ (2539)
* พัฒนาชนบทไทย : สมุทัยและมรรค (2539)
* พัฒนาชนบทไทย : สมุทัยและมรรค (2539)
* พัฒนาชนบทไทย : สมุทัยและมรรค (2539)
* ทำอย่างไรจึงจะได้ป่าและพื้นที่สีเขียวคืนมา (2542)
*[http://openbase.in.th/node/10172/ พุทธเศรษฐศาสตร์ : วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกต์ กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่างๆ] (สนับสนุนการจัดทำ e-book โดย www.openbase.in.th(2544)
* ทำอย่างไรจึงจะได้ป่าและพื้นที่สีเขียวคืนมา , ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 (2545)
* เมื่อบรรษัทครองโลก = When corporations rule the world , พิมพ์ครั้งที่ 2 (2546)
* เศรษฐกิจพอเพียงของ[[ในหลวง]]กับการวิเคราะห์ความหมายของนักเศรษฐศาสตร์ (2546)
* การประยุกต์พระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงกับ[[อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม]] (2546)
* การพัฒนาระบบการจัดสรรงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของ[[สถาบันอุดมศึกษา]] : รายงานการศึกษา โดยสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(2546)
* สังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง , พิมพ์ครั้งที่ 3 (2550)
 
* จัดการอย่างไรจึงจะได้ป่า
*การประยุกต์พระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงกับ[[อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม]]
* การประยุกต์พระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงกับ[[อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม]]
* การพัฒนาระบบการจัดสรรงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของ[[สถาบันอุดมศึกษา]] : รายงานการศึกษา โดยสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
* โครงการสังเคราะห์งานวิจัย ข้อเขียน และบทความเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
* การยกระดับอุตสาหกรรมไทยอย่างก้าวกระโดดด้วยวิธีปฏิบัติเป็นเลิศ และการเปรียบเทียบเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
* พุทธเศรษฐศาสตร์ : ฉบับนิสิต นักศึกษาและประชาชน
* เศรษฐกิจพอเพียงของ[[ในหลวง]]กับการวิเคราะห์ความหมายของนักเศรษฐศาสตร์
* สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
; [[หนังสืออิเล็กทรอนิกส์]]
*การพัฒนาระบบการจัดสรรงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของ[[สถาบันอุดมศึกษา]] : รายงานการศึกษา โดยสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
* Formulation and Evaluation of Sufficiency Economy Indicators and the Economic and Social Report on the National Perfomence in the Direction of Sufficiency Economy <ref>[http://openbase.in.th/node/10170/ Formulation and Evaluation of Sufficiency Economy Indicators and the Economic and Social Report on the National Perfomence in the Direction of Sufficiency Economy] (สนับสนุนการจัดทำ e-book โดย www.openbase.in.th)</ref>
* โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำดัชนีชี้วัดภาวะเศรษฐกิจและสังคมโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (สนับสนุนการจัดทำ e-book โดย www.<ref>[http://openbase.in.th)/node/10169/ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำดัชนีชี้วัดภาวะเศรษฐกิจและสังคมโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง]</ref>
*ประวัติ พุทธเศรษฐศาสตร์ : วิวัฒนาการ ทฤษฎีและผลงานของการประยุกต์ <ref>[http://openbase.ดรin.อภิชัยth/node/10172/ พันธเสน จากหนังสือพุทธเศรษฐศาสตร์ : วิวัฒนาการ ทฤษฎีและการประยุกต์ กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่างๆ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3; 2547]</ref>
 
== อ้างอิง ==
*[http://openbase.in.th/node/10170/ Formulation and Evaluation of Sufficiency Economy Indicators and the Economic and Social Report on the National Perfomence in the Direction of Sufficiency Economy] (สนับสนุนการจัดทำ e-book โดย www.openbase.in.th)
*โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำดัชนีชี้วัดภาวะเศรษฐกิจและสังคมโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (สนับสนุนการจัดทำ e-book โดย www.openbase.in.th)
**[http://openbase.in.th/node/10169/ บทคัดย่อ]
**[http://openbase.in.th/node/10171/ รายงานฉบับสมบูรณ์]
 
===; หนังสือ ===
*โครงการสังเคราะห์งานวิจัย ข้อเขียน และบทความเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
* ประวัติและผลงานของ ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน จากหนังสือพุทธเศรษฐศาสตร์ : วิวัฒนาการ ทฤษฎีและการประยุกต์ กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่างๆ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3; 2547
 
; เว็บไซต์
*การยกระดับอุตสาหกรรมไทยอย่างก้าวกระโดดด้วยวิธีปฏิบัติเป็นเลิศ และการเปรียบเทียบเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
 
*พุทธเศรษฐศาสตร์ : ฉบับนิสิต นักศึกษาและประชาชน
 
*[http://openbase.in.th/node/10172/ พุทธเศรษฐศาสตร์ : วิวัฒนาการ ทฤษฎีและการประยุกต์ กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่างๆ] (สนับสนุนการจัดทำ e-book โดย www.openbase.in.th)
 
*เศรษฐกิจพอเพียงของ[[ในหลวง]]กับการวิเคราะห์ความหมายของนักเศรษฐศาสตร์
*สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
== อ้างอิง ==
=== หนังสือ ===
*ประวัติและผลงานของ ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน จากหนังสือพุทธเศรษฐศาสตร์ : วิวัฒนาการ ทฤษฎีและการประยุกต์ กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่างๆ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3; 2547
=== แหล่งข้อมูลอื่น ===
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่นๆ ==
*[http://www.bus.ubu.ac.th/ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]
*[http://www.rasmi-trrm.org/ สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม (Rural And Social Management Institute)]
*[http://www.openbase.in.th/ ผลงาน ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน จาก Open Base Thailand]
 
 
[[หมวดหมู่:อาจารย์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:อาจารย์มหาวิทยาลัย]]
เส้น 77 ⟶ 67:
[[หมวดหมู่:อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ศาสตราจารย์]]
{{เกิดปี| }}